บก.ปอศ. เดินหน้าตรวจจับการละเมิดลิขสิท ธิ์ซอฟต์แวร์ในองค์กรธุรกิจ ล่าสุดในไตรมาสแรกปี 2560 ตรวจค้นและดำเนินคดีกับองค์กรธุ รกิจจำนวนกว่า 50 บริษัทพบการใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหม ายและไม่มีสัญญาอนุญาตให้ใช้สิท ธิบนคอมพิวเตอร์มากกว่า 600 เครื่อง คิดเป็นมูลค่าความเสียหายกว่า 90 ล้านบาท สูงสุดในกลุ่มธุรกิจออกแบบตกแต่ งภายในและผลิตชิ้นส่วนยานยนต์โด ยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และในจังหวัดที่เป็นพื้นที่ใกล้ เคียง
เจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการกระทำคว ามผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษ ฐกิจ (บก.ปอศ.) ยังคงบังคับใช้กฎหมายกับผู้ ละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์อย่ างต่อเนื่อง พบปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ทั้งก ารติดตั้งและใช้งานซอฟต์แวร์เกิ นกว่าจำนวนสิทธิตามสัญญาอนุญาตใ ห้ใช้สิทธิ (ไลเซ่นส์) การทำสำเนาซอฟต์แวร์โดยไม่ได้รั บอนุญาตเป็นต้นโดยเฉพาะในกลุ่ มธุรกิจออกแบบตกแต่ งภายในในเขตพื้นที่กรุ งเทพมหานคร ที่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แว ร์สูง โดยล่าสุด ได้ทำการตรวจค้นและดำเนินคดีกับ บริษัทออกแบบตกแต่งภายในสัญชาติ ไทยในกรุงเทพมหานคร พบการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์บ นคอมพิวเตอร์จำนวน 21 เครื่อง มูลค่าความเสียหายกว่า 10 ล้านบาท โดยบริษัทดังกล่าวมีรายได้รวมต่ อปี 14 ล้านบาท
การใช้งานซอฟต์แวร์ผิดกฎหมายและ ไม่มีสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ มีโทษทั้งจำและปรับ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ และเจ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิ ดำเนินคดีทางแพ่งกับองค์กรธุรกิ จที่ละเมิดลิขสิทธิ์ด้วยที่สำคั ญองค์กรธุรกิจที่ละเมิดลิขสิทธิ์ กำลังเสี่ยงกับการถูกโจมตี ทางไซเบอร์ และภัยไซเบอร์อื่นๆ เนื่องจากซอฟต์แวร์ผิดกฎหมายและ ไม่มีสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิมีส่ วนทำให้เกิดจุดอ่อนในระบบความมั่ นคงปลอดภัยของเครือข่ายคอมพิ วเตอร์
จากผลสำรวจการใช้ซอฟต์แวร์ทั่วโ ลก โดยไอดีซี (IDC) ผู้นำด้านการวิจัยระดับโลกพบอัต ราการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ใ นประเทศไทยในปี 2559 อยู่ที่ 69% ลดลงจาก 71% ในปี 2556 อัตราการละเมิดลิขสิทธิ์ที่ลดล งอย่างต่อเนื่องเป็ นผลมาจากการดำเนินนโยบายด้ านการคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญาอย่างจริงจังของผู้ที่เกี่ ยวข้องทุกภาคส่วน การสร้างความตระหนักรู้ให้แก่อง ค์กรธุรกิจและภาคประชาชนของกรมท รัพย์สินทางปัญญา และการบังคับใช้กฎหมายเพื่อปราบ ปรามการละเมิดสิทธิในทรัพย์สินท างปัญญาของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
อีกส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญมาก ได้แก่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ซอ ฟต์แวร์ขององค์กรธุรกิจ ซึ่งเริ่มมีความเข้าใจแล้วว่า การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์นั้ น ไม่เพียงแต่เป็นการกระทำที่ผิดก ฎหมาย แต่ยังเป็นสาเหตุที่นำมาซึ่งปัญ หาด้านภัยไซเบอร์ต่างๆ เนื่องจากการใช้งานซอฟต์แวร์ผิด กฎหมายและไม่มีสัญญาอนุญาตให้ ใช้สิทธิจะทำให้องค์กรธุรกิจไม่ ได้รับการดูแลด้านระบบความมั่ นคงปลอดภัยจากบริษัทผู้ผลิ ตซอฟต์แวร์ ทำให้มีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะติ ดมัลแวร์
ถึงแม้อัตราการละเมิดลิขสิทธิ์ซ อฟต์แวร์ในประเทศไทยจะลดลงอย่าง ต่อเนื่องจน แต่เป้าหมายของเราคือลดอัตราการ ละเมิดลิขสิทธิ์ในประเทศไทยลงมา ให้ใกล้เคียงหรือต่ำกว่าอัตราเฉ ลี่ยของเอเชียที่ร้อยละ 61 ให้ได้เร็วที่สุด
ทั้งนี้ บก. ปอศ. ขอความร่วมมือจากผู้ประกอบการธุ รกิจ โดยเฉพาะผู้บริหารองค์กร ให้ปรับเปลี่ยนมาใช้งานซอฟต์ แวร์อย่างถูกต้องตามกฎหมายและมี สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ เพราะหากถูกดำเนินคดีฐานละเมิ ดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ หรือถูกโจมตีทางไซเบอร์ จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ การเงิน ข้อมูลธุรกิจที่สำคัญ ตลอดจนชื่อเสียงขององค์กรด้วย
ท่านสามารถแจ้งเบาะแสการละเมิ ดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ผ่ านทางสายด่วนที่ 0-2714-1010 หรือผ่านระบบออนไลน์ และสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ ที่ www.stop.in.th