อีอีซีรุกคืบ เปด ToR รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน

สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) รวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคมและการรถไฟแหงประเทศไทย แถลงขั้นตอนการดำเนินการเพื่อคัดเลือกผู้ลงทุนในโครงการรถไฟความเรว็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน พรอมประกาศเชิญชวนเอกชนรวมลงทุนปลายเดือนพฤษภาคมนี้

นายอุตตม สาวนายน รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม นายไพรินทร ชูโชติถาวร รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม นายคณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก นายอานนท เหลืองบริบูรณผูตรวจราชการกระทรวงคมนาคม ไดรวมกันระบุถึงกรอบเวลาของโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ซึ่งเปนหนึ่งในโครงการเรงดวน เพื่อขับเคลื่อนโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) วา พรอมจะประกาศเชิญชวนนักลงทุนภาคเอกชนที่มีศักยภาพ ทั้งไทยและตางประเทศเขารวมประกวดราคาแลวในวันที่ 30 พฤษภาคม 2561 นี้ โดยมีเป้าหมายจะดำเนินการคัดเลือกผู้ลงทุนให้ได้ภายในปี 2561 นี้

โครงการนี้ครอบคลุมเสนทางรถไฟความเร็วสูงจากสนามบินดอนเมือง-สนามบินอูตะเภาโดยแบงเปน 3 ชวงรวมระยะทางประมาณ 220 กิโลเมตร

1)  รถไฟความเร็วสูงสวนตอขยาย แอรพอรตลิงก ดอนเมือง-พญาไท ระยะทาง 21กม.

2)  รถไฟแอรพอรตลิงก พญาไท-สนามบินสุวรรณภูมิ ระยะทาง 29 กม.

3)  รถไฟความเร็วสูงจาก สนามบินสุวรรณภูมิ-สนามบินอูตะเภา ระยะทาง 170 กม.

4)  พัฒนาพื้นที่สถานีและสนับสนุนการใหบริการผูโดยสาร

o สถานีมักกะสันประมาณ 150 ไร สําหรับการเปนสถานีหลักรถไฟความเร็วสูง

o สถานีศรีราชาประมาณ 100 ไร สําหรับการเปนสถานี เพื่อสนับสนุนบริการรถไฟ และโรงซอม หัวรถจักรของรฟท.

กรอบการรวมลงทุนในครั้งนี้ไดมีการนำเอาข้อเสนอและความคิดเห็นที่ไดรับจากนักลงทุนทั้งในและตางประเทศมาพิจารณาอยางจริงจัง เพื่อให้มีความสมบูรณและชัดเจนบนหลักการเปิดกว้างให้เกิดการแขงขันของภาคเอกชน (International Bidding) เพื่อประโยชนสูงสุดตอภาครัฐ โดยจะดําเนินโครงการภายใต้ประกาศคณะกรรมการนโยบายเรื่องการรวมลงทุนกับเอกชนหรือ PPP EEC Track

นายคณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการ อีอีซี กลาววา “ดวยการออกแบบกระบวนการให้รวดเร็วและกระชับในรูปแบบ พีพีพี อีอีซี แทรค จะทําให้การเดินหนาของโครงการรวดเร็ว สอดรับไปกับการพัฒนาของเขตพิเศษภาค ตะวันออก สําหรับสถานีที่รถไฟจะวิ่งผานนั้น นอกเหนือไปจากเป็นการพัฒนาโครงขายคมนาคมสําหรับประชาชนแลว ยังเปนสวนหนึ่งที่รองรับการพัฒนาและการลงทุนที่จะเพิ่มขึ้นในเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออกสามจังหวัดอีกดวย”