- งานวิจัยระดับโลกเผยผู้คนกว่า 78% รู้สึก “ติดอยู่ในภาวะเบื่อหน่าย” ในเรื่องหน้าที่การงานและเรื่
องส่วนตัว 77% - 90% ยอมรับว่าคำนิยามความสำเร็
จของเหล่าคนทำงานเปลี่ยนไปตั้ งแต่เกิดภาวะการแพร่ระบาด - 89% ต้องการใช้เทคโนโลยีมาช่
วยกำหนดอนาคต - 78% รู้สึกว่าบริษัทมีความใส่ใจต่
อสุขภาพจิตของพนักงานมากกว่าช่ วงก่อนการแพร่ระบาด
จากงานวิจัยล่าสุด โดย ออราเคิล และ เวิร์กเพลส อินเทลลิเจนซ์ (Workplace Intelligence) บริษัทวิจัยและให้คำปรึกษาด้ านทรัพยากรบุคคล ระบุว่าผู้คนกำลังหันมาใช้หุ่ นยนต์เพื่อส่งเสริมอาชี พการงานหลังจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19 ทำให้พวกเขารู้สึกโดดเดี่ ยวและแปลกแยกจากชีวิตของตัวเอง
งานวิจัยทำการศึกษาพนักงาน ผู้จัดการ หัวหน้าแผนกทรัพยากรบุคคล และผู้บริหารระดับสู งจำนวนมากกว่า 14,600 คนใน 13 ประเทศ ชี้ว่าผู้คนทั่วโลกต่างรู้สึกว่ ากำลังติดอยู่กับภาวะน่าเบื่ อหน่ายที่ไม่สามารถหาทางออกได้ ทั้งในเรื่องอาชีพการงานและเรื่ องส่วนตัว แต่ยังมีความพร้อมที่จะกลั บมาควบคุมการใช้ชีวิตให้เข้าที่ เข้าทางในอนาคตข้างหน้า โดยจากจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้ งหมด มากกว่า 6,000 คน รวมถึงประเทศในภูมิภาคเอเชี ยแปซิฟิก เช่น ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี และสิงคโปร์
คนวัยทำงานในเอเชียแปซิฟิกรู้สึ กโดดเดี่ยว แปลกแยก และควบคุมการใช้ชีวิตของตั วเองไม่ได้
มาตรการล็อกดาวน์และความผั นผวนที่ยาวนานกว่าหนึ่งปี จากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้คนทำงานเกิดความสั บสนทางอารมณ์ รู้สึกว่าไม่สามารถควบคุมชีวิ ตส่วนตัวและหน้าที่การงานของตั วเองได้ โดยบริษัทนายจ้างต่างตระหนักถึ งเรื่องนี้ และเริ่มดำเนินการเพื่อดูแลสุ ขภาพจิตของพนักงาน
- ผู้คนกว่า 80% ได้รับผลกระทบเชิงลบจากปีที่แล้
ว หลายคนมีความเดือดร้อนทางการเงิ น (31%) รู้สึกทรมานจากสภาพจิตใจที่หดหู่ (29%) ขาดแรงจูงใจในการทำงาน (25%) รู้สึกโดดเดี่ยวมากกว่าเดิม (25%) และรู้สึกถูกตัดขาดไม่สามารถชี วิตของตัวเองได้ (22%) - 63% คิดว่าปี 2021 เป็นปีที่ตึงเครียดที่สุ
ดในการทำงาน โดยกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ ตอบแบบสอบถามทั้งหมด (55%) ต้องต่อสู้กับปัญหาสุขภาพจิ ตจากเรื่องงานในปี 2021 มากกว่าปี 2020 ที่ผ่านมา - ผู้คนรู้สึกถึงการไม่
สามารถควบคุมการใช้ชีวิตได้ ทั้งในเรื่องส่วนตัวและเรื่ องงานเพิ่มขึ้นมากกว่าครึ่งหนึ่ งหลังจากเกิดการแพร่ระบาด โดยคนส่วนใหญ่รู้สึกสูญเสี ยการควบคุมเรื่องชีวิตส่วนตัว (47%) อนาคต (46%) และการเงิน (45%) - 77% รู้สึกติดอยู่ในภาวะน่าเบื่อหน่
ายในด้านชีวิตส่วนตัว โดยวิตกกังวลกับอนาคตของตนเอง (32%) ติดอยู่กับกิจวัตรประจำวันเดิม ๆ (27%) และเดือดร้อนด้านการเงิน (25%)อย่างไรก็ตามในทางกลับกัน ผู้คนโดยส่วนใหญ่ (78%) รู้สึกว่าบริษัทตัวเองเริ่มใส่ ใจดูแลสุขภาพจิตของพนั กงานมากกว่าก่อนการแพร่ระบาด
ผู้คนถูกกระตุ้นให้รู้จักเปลี่ ยนแปลง แต่ยังพบความท้าทายครั้งใหญ่
ถึงแม้ว่าผู้คนต่างต้องดิ้ นรนตลอดปีที่ผ่านมา คนในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกต่างต้ องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชี วิตการทำงานของตัวเอง
- 93% ใช้ประสบการณ์จากปีที่ผ่านมาเพื่
อไตร่ตรองชีวิตของตัวเอง โดย 90% ระบุว่านิยามความสำเร็จได้เปลี่ ยนไปหลังเกิดการแพร่ระบาด โดยผู้คนหันไปให้ความสำคัญอย่ างมากกับ work-life balance (43%) สุขภาพจิต (38%) และความยืดหยุ่นในสถานที่ทำงาน (34%) - 78% รู้สึกตันและติดอยู่กับอาชี
พการงานเพราะไม่มีโอกาสก้าวหน้ าในสายงานได้ (27%) และรู้สึกเหนื่อยเกินไปที่จะลุ กขึ้นมาสร้างการเปลี่ยนแปลง (23%) - 72% ที่กล่าวว่ารู้สึกจมอยู่กับอาชี
พการงานมีผลกระทบเชิงลบต่อชีวิ ตส่วนตัวด้วย เนื่องจากเกิดความเครี ยดและความวิตกกังวลมากขึ้น (42%) ทำให้ยิ่งรู้สึกติดอยู่กั บความรู้สึกส่วนตัวตามไปด้วย (31%) และเลิกให้ความสำคัญกับชีวิตส่ วนตัว (28%) - 84% พร้อมสร้างความเปลี่ยนแปลงด้
านอาชีพการงาน แต่ 79% ระบุว่าพวกเขากำลังเผชิญอุ ปสรรคใหญ่หลายด้าน ทั้งการขาดเสถียรภาพทางการเงิน (24%) ไม่รู้ว่าการเปลี่ ยนงานจะเหมาะสมกับตัวเองหรือไม่ (23%) ไม่มั่นใจพอที่จะเปลี่ยนแปลง (22%) และมองไม่เห็นโอกาสเติบโตในบริ ษัทเดิม (22%) - เมื่อก้าวสู่ปี 2022 สิ่งที่ผู้คนให้ความสำคัญมากที่
สุดคือการสร้างอาชีพ โดยมีคนจำนวนมากยอมเสียประโยชน์ ในด้านต่างๆ เช่น การจัดสรรงานที่ยืดหยุ่น (60%) เวลาพักร้อน (55%) แม้แต่เงินโบนัส (52%) หรือหักเงินเดือนบางส่วน (48%) เพื่อให้ได้โอกาสการทำงานที่ มากขึ้น - อย่างไรตาม คนทำงานและพนักงานกว่า 86% ในเอเชียแปซิฟิกยังไม่พอใจกั
บการสนับสนุนช่วยเหลือของนายจ้ าง ต้องการให้องค์กรจั ดหาโปรแกรมการเรียนรู้และพั ฒนาทักษะ (38%) โอกาสการทำงานในตำแหน่งใหม่ ภายในบริษัท (32%) และความยืดหยุ่นในการทำงานที่ มากขึ้น (32%)
พนักงานในเอเชียแปซิฟิกต้ องการทักษะใหม่และใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยในการพัฒนาตัวเอง
หากต้องการรักษาและพัฒนาบุ คลากรผู้มีความสามารถภายใต้ สภาวะการทำงานที่กำลังเปลี่ ยนแปลงนี้ นายจ้างต้องใส่ใจต่อความต้ องการของลูกจ้างมากกว่าในอดีต และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่ อการพัฒนาในด้านบุคลากรต่างๆให้ มากขึ้น
- 89% ต้องการเทคโนโลยีมาช่
วยในการแนะนำวิธีการเรียนรู้ทั กษะใหม่ๆในอนาคต(40%) การเรียนรู้ทักษะที่พนั กงานจำเป็นต้องพัฒนา (39%) และบอกขั้นตอนต่อไปเพื่อก้าวสู่ เป้าหมายในอาชีพการงาน (37%) - 82% ต้องการสร้างการเปลี่ยนแปลงในชี
วิตตามคำแนะนำของหุ่นยนต์ - 88% เชื่อว่าหุ่นยนต์สามารถส่งเสริ
มหน้าที่การงานของพวกเขาได้ดี กว่ามนุษย์ ด้วยการให้คำแนะนำที่ ปราศจากอคติ (41%) ส่งต่อข้อมูลที่ออกแบบมาให้ เหมาะสมกับทักษะในปัจจุบันหรื อเป้าหมายที่ต้องการ (38%) อีกทั้งตอบคำถามเกี่ยวกับอาชี พได้อย่างรวดเร็ว (37%) - แต่ผู้คนก็ยังเชื่อมั่นว่ามนุ
ษย์มีบทบาทสำคัญมากในการพั ฒนาอาชีพ โดยเชื่อว่ามนุษย์สามารถให้ การสนับสนุนได้ดีกว่าด้วยการให้ คำปรึกษาตามประสบการณ์ของแต่ ละคน (45%) การบอกจุดแข็งและจุดอ่อน (43%) และการพิจารณานอกเหนือจากข้อมู ลใบสมัครงานเพื่อแนะนำตำแหน่ งงานที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล (39%) - 91% เชื่อว่าบริษัทควรรับฟังความต้
องการของพนักงานให้มากกว่านี้ และ 61% อยากทำงานกับบริษัทที่ใช้ เทคโนโลยีทันสมัยอย่างปั ญญาประดิษฐ์มาส่งเสริมการเติ บโตในอาชีพการงาน
นายทวีศักดิ์ แสงทอง กรรมการผู้จัดการ ออราเคิล คอร์ปอเรชั่น ประเทศไทย กล่าวว่า “จากสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นนี้ ก่อให้เกิดแนวทางใหม่ ๆของการทำงานในอนาคต ถึงแม้ว่าคนส่วนมากจะรู้สึกยึ ดติดอยู่กับสิ่งต่างๆในชีวิต วิตกกังวลถึงอนาคต ติดอยู่กับกิจวัตรประจำวันเดิมๆ และรู้สึกโดดเดี่ยว แต่บรรดาพนักงานกลับรู้สึกมีพลั งในการเรียกร้อง ไม่ลังเลที่จะมองหาความสำเร็จ เมื่อผู้คนเริ่มเรียงลำดั บความสำคัญของสิ่งต่างๆ ในชีวิตใหม่ ดังนั้นองค์กรในประไทยจำเป็นต้ องกระตือรือร้นมากขึ้น ที่จะรักษาบุคลากรที่มี ความสามารถไว้ในองค์กร โดยบริษัทต้องเพิ่มการดูแลพนั กงานในด้านต่างๆ เป็นสองเท่าเพื่อพัฒนาทักษะใหม่ และสามารถแนะนำสายงานที่ เหมาะสมกับแต่ละบุคคล เพื่อให้พนักงานสามารถกลั บมาควบคุมการใช้ชีวิต หน้าที่การงานได้เหมือนเดิม”