(Photo: RENDY ARYANTO/VVS.sg)
ยูพีเอส (NYSE: UPS) Supply Chain Solutions (UPS SCS) เปิดตัวศูนย์นวัตกรรมแห่ งแรกของโลกอย่างเป็นทางการวันนี้ เพื่อเชื่อมต่อธุรกิจในเอเชี ยเข้ากับเทคโนโลยีโลจิสติกส์ที่ ทันสมัย โดยศูนย์นวัตกรรมแห่งนี้ตั้งอยู่ ที่ประเทศสิงคโปร์ และจะเป็นพื้นที่ที่ยูพีเอสได้ ร่วมมือกับพันธมิตรในเชิงกลยุ ทธ์ เพื่อบ่มเพาะ ทดสอบ และติดตั้งใช้งานเทคโนโลยีแห่ งอนาคต เพื่อเสริมธุรกิจต่างๆ ในการยกระดับด้านดิจิทัลท่ ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง
พิธีเปิดอย่างเป็นทางการของ ศู นย์นวัตกรรม ได้รับเกียรติ จากผู้บริหารของยู พีเอส ได้แก่ ฟิลลิปป์ กิลเบิร์ต ประธาน UPS SCS และเซบาสเตียน ชาน ประธาน UPS SCS ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เป็นประธานในงานพิธี
เทคโนโลยีคือตัวกระตุ้นให้เกิ ดความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน
การเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลคือปั จจัยหลักที่กระตุ้นการเปลี่ ยนแปลงในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ และภายในปี 2025 จะมีมูลค่าคิดเป็น 1.72 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ในสัดส่วนการลงทุนภายในอุ ตสาหกรรมโลจิสติกส์ ตามข้อมูลของ World Economic Forum[1]
แม้กระทั่งก่อนหน้าที่จะเกิ ดภาวะวิกฤตด้านห่วงโซ่อุ ปทานในปัจจุบันยูพีเอสก็ได้ทุ่ มเงินลงทุน 1,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีให้กั บเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตั้งแต่เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง ตลอดจนถึงหุ่นยนต์อัตโนมัติ และโดรน โดยการลงทุนดังกล่าวมีบทบาทเป็ นพิเศษในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ที่ซึ่งบริษัทต่างๆ กำลังเร่งเครื่องลงทุ นในเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ ของคลังสินค้าเพื่อเพิ่มผลผลิ ตและความสามารถในการแข่งขัน
“ศูนย์นวัตกรรม ประจำภูมิภาค เอเชี ยแปซิฟิกเป็น ฐานที่มั่ นของเราในการ สร้างสรรค์ เทคโนโลยีและโซลูชั่นแห่ งอนาคตให้กับลูกค้า เกือบสองปีของ การ หยุดชะงัก จาก โร คระบาด ได้จุดชนวนให้เกิดการ เปลี่ ยนแปลงครั้งใหญ่ในวิธีการ ต่างๆ ที่บริษัทและผู้บริโภค ใช้เพื่อ จั ดหาและรับสินค้า เช่นเดียวกั บการ พุ่งตัว ขึ้นอย่าง รวดเร็ว ของ เทรนด์ ที่ก่อนหน้านี้ เติ บโตมาเป็นระยะ เช่น การ นำ อี คอมเมิร์ซ มาใช้ และการบริโภคที่ บ้าน ” ฟิลลิปป์ กล่าว
“เจตนารมณ์ของยูพีเอสที่แน่วแน่ และมุ่งไปข้างหน้าอย่างไม่หยุ ดยั้ง เป็นตัวกำหนด ทิศทาง ให้เรา เ น้นไปที่ โซลูชันที่ทันสมัยและ ให้ ความสำคัญกับลูกค้าเป็นอันดั บหนึ่ง เพื่อ เสริม สร้างความยืดหยุ่ นของห่วงโซ่อุปทาน ศูนย์นวั ตกรรม ประจำภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก สะท้อนถึงความมุ่งมั่นของเรา ในก าร ยกระดับ การ ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่ ทันสมัย เพื่อจินตนาการและ พลิกนิยามของ ชี วิตวิถี ใหม่ให้กับลูกค้ าของเราในเอเชีย รวมไปถึงใน ห่วงโซ่อุปทานทั่วโลก ”
ฐานขับเคลื่อน ของ ห่วงโซ่อุ ปทานแห่งอนาคต
ศูนย์นวัตกรรม ประจำภูมิภาคเอเชี ย แปซิฟิก แบ่งพื้นที่ภายในออกเป็ นโซนต่างๆ ได้แก่ คลังสินค้า จำลอง สำหรับ ใช้ สาธิ ตเทคโนโลยีล่าสุดแบบเรียลไทม์ ต ลอดจนพื้นที่ในคลังสินค้าจริงที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ นำร่องการ ทำ งานร่วมกับลูกค้า ในทางปฏิบัติ โด ยเฉพาะ
ยูพีเอส มุ่งหวัง ให้ศูนย์นวั ตกรรม แห่งนี้ เป็นสถานที่ ทดสอบเพื่อสำรวจและนำเทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยถูกใช้ ในวงกว้างมา ทดลอง ใช้ โดยร่วมมือ อย่างใกล้ชิดกับลูกค้าและพันธมิ ตรชั้นนำ ในแวดวง เทคโนโลยี ในการ ประยุกต์ใช้ นวัตกรรมต่างๆ เช่น หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมั ติ (AMR) ระบบบ่งชี้ด้วยคลื่น คว ามถี่วิทยุ (RFID) และโดรน เทคโ นโลยีเหล่านี้จะ ช่วย ลดช่องว่ างด้านประสิทธิภาพภายในห่วงโซ่ อุปทาน และปรับปรุงการดำเนิ นงานด้านโลจิสติกส์ ทั้ง ขาเข้ าและขาออก การดำเนินการตามคำสั่ งซื้อ และการตรวจสอบสินค้าคงคลั ง ให้ บรรลุ ประสิทธิภาพ ดี ยิ่งขึ้น
เซบาสเตียน ชาน กล่าวว่า “ในธุ รกิจที่ มีความ ซับซ้อน ไม่ต่างจาก การจัดการห่วงโซ่อุปทานเช่นนี้ ความร่วมมือเป็นสิ่งสำคัญ จาก กา รทำงานร่วมกับพันธมิตรในอุ ตสาหกรรม เช่น Geek+ ทำให้เรามี นวัตกรรม ต่ างๆ ที่ช่วยให้ธุรกิจทุกขนาด สามารถ ใ ช้โซลูชันดิจิทัล เพื่อ เพิ่มมู ลค่าในทุกขั้นตอนของการเติ บโตอย่างต่อเนื่อง ”
ยูพีเอส เป็น ผู้ให้บริการ เจ้ าแรกที่ติดตั้ง และใช้งาน หุ่ นยนต์หยิบของ Geek+ RoboShuttle® RS-5 ใน ประเทศ สิงคโปร์ โดยหุ่ นยนต์ ดังกล่าว มี ความสามารถในการหยิบ ของ แบบ Bin- to-Person ที่อาศัยความ ลึก พิเศษ ซึ่งช่วยประหยัดพื้นที่คลังสิ นค้าได้เกือบ 50% และใช้อัลกอริ ธึมปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการวิ เคราะห์คำสั่งซื้อและการตั้ งเวลาหุ่นยนต์ เพื่อ เพิ่มประสิ ทธิภาพการทำงาน ความแม่นยำ และ ความจุ ของคลังสิ นค้า ในภาพรวม
ในการดำเนินงานคลังสินค้า การ ใช้ หุ่นยนต์ขน ถ่าย –เคลื่อนย้าย Geek+ P800 สำหรับการ ยกของหนั กและการเคลื่อนไหวแบบจุดต่อ จุด ควบคู่ กับการ ใช้เทคโนโลยี RFID ในการสแกนพัสดุหลายชิ้นพร้อมกั นภายใน เสี้ยววินาที ทำให้ธุรกิจได้รับประโยชน์จากก ร ะบวนการทำงาน ที่เร็วขึ้น ซึ่ งนำไปสู่ การ บรรลุจำนวน งานที่สู งขึ้น ได้ โดยใช้เวลาน้อยลง
“ความเ ข้ากันรวมถึงลักษณะที่ สามารถประกอบและถอดออกมาได้ง่ ายของเทคโนโลยี AMR และ RFID จะเปิดโอกาสให้ ธุรกิ จจากทั่วทั้งภูมิภาคสามารถ เข้ ามา ร่วมมือกับ ยูพีเอส และพันธมิ ตรของเรา ได้ เพื่อ สำรวจ และทดลองใช้ วิธี การ ต่ างๆ ในการ ปรับ ระบบการทำงาน ให้ เป็ นอัตโนมัติและเพิ่มประสิทธิภาพ ข อง ห่วงโซ่อุปทานตามความต้ องการเฉพาะ ” ชานกล่าวเสริม
เทคโนโลยีเหล่านี้ จะ ช่วย ส่ง เสริ ม ให้พอร์ทัล UPS Supply Chain Symphony™ ของ ยูพีเอส สมบูรณ์ยิ่ งขึ้น โดย เปิดโอกาสให้ ลูกค้ าสามารถเข้าถึงอีโคซิสเต็มดิจิ ทัลที่ครอบคลุม และ การมองเห็นทุกกระบวนการ ของห่ วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่ต้ นจนจบแบบแทบจะ เรียลไทม์
ทั้งนี้ แผนการในอนาคตสำหรับศูนย์นวั ตกรรม ประจำภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก ยังรวมไปถึง การร่วมมือกับสถาบั นการศึกษาเพื่อ ดำเนิน การวิจั ยเทคโนโลยีห่วงโซ่อุปทานในเชิ งลึก การแบ่งปันแนวทางปฏิบัติ ของธุรกิจ และการ ขยาย ศูนย์นวั ตกรรมของ ยูพีเอส ไปยัง ภูมิภาค อื่ นๆ ของโลก
Related