Jobsdb by SEEK ได้เปิดเผยข้อมูลตลาดแรงงานทั่
บทสรุปสำคัญ
-
แนวโน้มการโยกย้าย: 63% ของผู้หางานทั่วโลกเปิดรับการย้
ายถิ่นฐานเพื่อทำงาน โดยมีสัดส่วนลดลงเมื่อเทียบกั บก่อนโควิดที่มีอัตราเปิดรั บการย้ายถิ่นฐานที่ 71%
-
ความกระตือรือร้นในการหางาน: 25% ของผู้หางาน กำลังมองหางานในต่
างประเทศเพราะมีความคาดหวั งโอกาสในการทำงาน คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และรายได้ที่มากขึ้น -
แนวโน้มการทำงานทางไกลระหว่
างประเทศ: ภาพรวมผู้หางานจากเอเชียตะวั นออกเฉียงใต้ กว่า 66% สนใจที่จะทำงานในต่ างประเทศโดยที่ไม่ต้องมีการย้ ายถิ่นฐาน แสดงให้เห็นถึงการโยกย้ ายแบบเสมือน หรือ Virtual Mobility ในขณะที่ผู้ตอบแบบสอบถามคนไทย ตอบรับการทำงานทางไกลระหว่ างประเทศสูงถึง 76% เทียบกับปี 2563 ที่มีสัดส่วนเพียง 50% -
ผู้หางานชาวไทยสนใจในการทำงานต่
างประเทศมากขึ้น: ผู้ตอบแบบสอบถามคนไทยกว่า 66% มีความสนใจในการโยกย้ ายไปทำงานต่างประเทศ และ 79% ของกลุ่มนี้ เป็นกลุ่มคนที่มีอายุน้อย ที่แสดงความสนใจในการไปทำงานต่ างประเทศ ปัจจัยของความสนใจโยกย้ายถิ่ นฐานนี้มาจาก ความมุ่งมั่นเกี่ยวกับความก้ าวหน้าในหน้าที่การงาน ค่าตอบแทนที่สูงขึ้น ตลอดจนโอกาสที่จะได้รั บประสบการณ์ในระดับนานาชาติ และถึงแม้ตัวเลขจะยังไม่ถึง จุ ดสูงสุดก่อนเกิดโรคระบาดในปี 2561 แต่ความสนใจถือว่าเพิ่มขึ้นอย่ างเห็นได้ชัดในปี 2566 ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนถึง ปรากฏการณ์สมองไหล โดยเฉพาะคนทำงานในกลุ่มการศึ กษาและการฝึกอบรม กฎหมาย การจัดการธุรกิจ และไอที -
การพัฒนากลยุทธ์สำหรับบริษัทจ้
างงาน เพื่อดึงดูดผู้หางานระดับโลก: การสร้างมาตรฐานองค์กรสากลเพื่ อดึงดูด ผู้หางานระดับโลกด้วยข้ อเสนอที่ตอบสนองกับความต้ องการของชาวต่างชาติอย่างการสนั บสนุนในการย้ายถิ่นฐานพร้อมกั บการจัดการเรื่องวีซ่าเเละที่ อยู่อาศัย และการสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่ เปิดกว้าง ไม่แบ่งแยก เพื่อดึงดูดและรักษาพนักงานคุ ณภาพระดับโลก
ประเทศไทยได้กลายเป็นหนึ่งในจุ
ประเทศไทยยังได้ถูกยกให้เป็นจุ
จุดหมายปลายทางยอดนิยมของชาวไทย
79% ของผู้หางานชาวไทยเป็นกลุ่มคนรุ่
จุดหมายปลายทางที่แรงงานไทยให้
ตัวอย่างสาขาอาชีพที่มีความพร้
การศึกษาและการฝึกอบรม: 85% ของอาจารย์เเละผู้
กฏหมาย: 73% ของนักกฎหมายชาวไทยกำลั
การจัดการธุรกิจ: นักบริหารธุรกิจมีความต้องการที่
ไอที: ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีมีความมุ่
วิศวกรรมและเทคนิค: วิศวกรมีความต้องการที่
แนวโน้มการทำงานทางไกลระหว่
แนวโน้มการทำงานระยะไกลเพิ่มขึ้
ขอบคุณรูปภาพจาก Pexels
ข้อเสนอแนะสําหรับผู้
การพัฒนากลยุทธ์เพื่อดึงดูดผู้
-
การวางแผนเกี่ยวกับความต้
องการบุคลากรระดับโลก: เพื่อรับมือกับปัญหาขาดแคลนบุ คลากรในอนาคต ผู้ ประกอบการไทยควรวางแผนจำนวนบุ คลากรล่วงหน้าโดยเฉพาะในสาขาที่ มีทักษะสูง เนื่องจากประชากรสูงวัยและภาค ดิ จิทัลมีช่องว่างด้านบุคลากรจึ งอาจพิจารณาดึงคนจากประเทศใกล้ เคียง เช่น สิงคโปร์และมาเลเซีย ที่สนใจย้ายมาทำงานในไทย
-
การดึงดูดเเละสรรหาบุคลากรจากทั่
วโลก: เพื่อดึงดูดผู้หางานคุณภาพจากต่ างประเทศ ผู้ประกอบการในประเทศ ไทยควรปรั บข้อเสนอขององค์กรให้เหมาะสมกั บความต้องการของแรงงานทั่ วโลกโดยการมุ่งเน้นไปที่คุ ณภาพชีวิต วัฒนธรรมองค์กร รายได้ ภาษี และค่าครองชีพ นอกจากนี้ การเป็นพันธมิตรกับแพลตฟอร์ มสรรหาบุคลากรที่มีเครือข่ายทั่ วภูมิภาค เช่น SEEK ก็ช่วยเปิดโอกาสในการค้นหาผู้ หางานได้มากขึ้นเช่นกัน -
การย้ายถิ่นฐานเเละการต้อนรับดู
แลบุคลากรจากทั่วโลก: ผู้ประกอบการไทยควรให้การสนั บสนุนดูแลบุคลากรจากทั่วโลกที่ ย้ายมาทำงานในแถบภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ด้วยการช่ วยเหลือด้านวีซ่า ที่อยู่อาศัย และการย้ายถิ่นฐาน รวมถึงการปฐมนิเทศและโปรแกรมเพื่ อนร่วมงานในช่วงแรก -
การรักษาพนักงานคุณภาพระดับโลก: เพื่อปลดล็อกศักยภาพของวั
ฒนธรรมองค์กรควรที่จะสร้ างบรรยากาศการทำงานที่เปิดกว้ างเเละไม่แบ่งแยกโดยการใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลั กในการทำงานเเละยังมุ่งเน้ นในการสร้างวัฒนธรรมที่ยอมรั บความหลากหลายเช่น การจัดทีมงานระหว่างวัฒนธรรม การฝึกอบรมหัวหน้างานเกี่ยวกั บการไม่ลำเอียง และการเคารพความแตกต่างทางวั ฒนธรรม
การสำรวจแรงงานทั่วโลก หรือ Global Talent Survey 2024 โดย Jobsdb by SEEK แสดงให้เห็นถึงการเติ