มูลนิธิเพาะพันธุ์ปัญญา ด้วยการสนับสนุนของธนาคารกสิ กรไทย สานต่อโครงการเพาะพันธุ์ปั ญญาแคมป์ รุ่นปี 2567 ภายใต้แนวคิด ‘อัพเวลสกิลธุรกิจ เสริมทักษะชีวิต ติดปีกผู้ประกอบการ’ สร้างเสริมประสบการณ์ด้านธุรกิ จให้แก่เยาวชนระดับมัธยมศึ กษาของจังหวัดน่าน จำนวน 50 คน จาก 13 โรงเรียน ตลอดระยะเวลา 79 วัน ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ในการดำเนินธุรกิจที่ ออกแบบตามแนวคิดเพาะพันธุ์ปัญญา เพื่อสร้างองค์ความรู้ และประสบการณ์จากการลงมือปฏิบั ติด้ วยตนเองตามกระบวนการโครงงานฐานวิ จัย แคมป์เพาะพันธุ์ปัญญาถือเป็ นการเรียนรู้นอกหลักสูตรที่จั ดทำในช่วงปิดเทอม ทักษะและประสบการณ์นอกห้องเรี ยนที่ได้นี้ จะเสริมประโยชน์ต่อการเรียนรู้ ของเยาวชน พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้ อื่น และความสามารถในการประยุกต์ ความรู้ใหม่ใช้กับสถานการณ์จริ งที่ตนเผชิญ
ดร.อดิศวร์ หลายชูไทย กรรมการผู้จัดการ มูลนิธิเพาะพันธุ์ปัญญา เปิ ดเผยว่า มูลนิธิเพาะพันธุ์ปัญญาก่อตั้ งขึ้นเพื่อสานต่อแนวคิดเพาะพั นธุ์ปัญญา ที่มุ่งส่งเสริมให้เกิดการเรี ยนรู้ตามหลักผลเกิดจากเหตุ เพื่อให้เยาวชนสามารถคิดวิ เคราะห์แนวทางในการแก้ปัญหา ต่อยอดโอกาสในการพัฒนาตนเอง และสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ตลอดชีวิต อันนำไปสู่การใช้ชีวิตอย่างยั่ งยืนในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการเพาะพันธุ์ ปัญญาแคมป์ขึ้นในช่วงปิ ดภาคการศึกษา โดยมีพันธกิจสำคัญ คือการทำให้เยาวชนสามารถเข้าถึ งความรู้ใหม่ พัฒนาทักษะใหม่ และเก็บประสบการณ์การเรียนรู้ที่ เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีพ โดยเข้าร่วมแคมป์การทำธุรกิจเชิ งปฏิบัติการและการเรียนออนไลน์ รวมถึงการเรียนรู้จาก วิทยากรมื ออาชีพในหลากแขนง
ผลการดำเนินโครงการเพาะพันธุ์ปั ญญาแคมป์ รุ่นปี 2567 ภายใต้แนวคิด ‘อัพเวลสกิลธุรกิจ เสริมทักษะชีวิต ติดปีก ผู้ประกอบการ’ มีเยาวชนระดับมัธยมศึกษาของจั งหวัดน่านเข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน จาก 13 โรงเรียน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดื อนมิถุนายน โดยตลอดระยะเวลา 79 วัน เยาวชนได้เรียนรู้การทำธุรกิ จและลงมือปฏิบัติจริงผ่านแคมป์ ต่าง ๆ ประกอบด้วย
แคมป์เพาะกล้า เพื่อฝึกฝนทั กษะเบื้องต้นในการเป็นผู้ ประกอบการ เยี่ยมชมสถานประกอบการในจังหวั ดน่าน เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ แคมป์หลักอีก 3 แคมป์ ได้แก่
แคมป์ที่ 1 กล้าเรียน เพื่อปูพื้ นฐานในการสร้างสรรค์ไอเดียธุรกิ จ ความเป็นไปได้ และเรียนรู้สิ่งที่จำเป็ นในการทำธุรกิจ นำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาไอเดียธุ รกิจที่มีคุณค่า เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ และนำไปทดลองตลาด (Minimum Viable Product: MVP)
แคมป์ที่ 2 กล้าลุย เพื่อบุกตลาด ลงมือขาย พบลูกค้าตัวจริง เรียนรู้จุดเด่น จุดด้อย เพื่อพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ และบริการ และเดินหน้าจัดจำหน่ายเป็นธุรกิ จจริง
แคมป์ที่ 3 กล้าก้าว เพื่ อรายงานและนำเสนอผลประกอบการจาก การทำธุรกิจจริงในระยะเวลา 2 เดือนต่อคณะกรรมการ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและนักธุ รกิจตัวจริง รวมถึงผู้ถือหุ้นที่เป็นเจ้ าของทุนที่ใช้ในการทำธุรกิจ นอกจากนี้ เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการยังได้ เปิดโลกทัศน์เรียนรู้ประสบการณ์ จากบุคคลต้นแบบที่ ประสบความสำเร็จด้านธุรกิจและผู้ นำความคิดด้านการพัฒนาอย่างยั่ งยืนระดับประเทศตลอดช่ วงเวลาของการเข้าแคมป์อีกด้วย
ในกระบวนการเรียนรู้ตลอดการเข้ าแคมป์ 79 วัน เยาวชนจาก 13 โรงเรียน ทั้ง 10 ทีม มีพัฒนาการความก้าวหน้า เกิดการพัฒนาระบบคิด วิเคราะห์ การใช้ตรรกะ การเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยกระบวนการเพาะพันธุ์ปัญญา โดยใช้การทำโครงงานฐานวิจัยเป็ นกลไกในการสร้างกระบวนการเรี ยนรู้ให้เกิดขึ้น ซึ่งในกระบวนการทำโครงงานฐานวิ จัย เยาวชนได้ใช้เรื่องการทำธุรกิ จหรือการเป็นผู้ประกอบการมาเป็ นหลัก และได้ลงมือทำจริงด้วยตนเอง จึงได้รับทั้งความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จริง พร้อมได้รับแนวคิดจากผู้ ประกอบการ ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการในการประกอบอาชีพต่าง ๆ ได้ในอนาคต
ทั้งนี้ โรงเรียนที่มีผลการประเมินพั ฒนาการโดดเด่น 3 อันดับแรก ได้แก่ 1. ทีมโรงเรียนเมืองยมวิ ทยาคารและโรงเรียนหนองบัวพิ ทยาคม 2. ทีมโรงเรียนนาหมื่นพิทยาคม และ 3. ทีมโรงเรียนแม่จริม โดยมีทีมโรงเรียนสาธุกิ จประชาสรรค์ รัชมังคลาภิเษกและโรงเรียนสารทิ ศพิทยาคมที่ได้รับการประเมินว่ าเป็นทีมที่สามารถปรับตัว แก้ปัญหา และเดินหน้าโครงการได้อย่างต่ อเนื่องแม้จะเจออุปสรรคอย่ างมากก็ตาม
ดร.อดิศวร์ กล่าวตอนท้ายว่า จุดมุ่งหมายของมูลนิธิเพาะพันธุ์ ปัญญา ไม่ใช่การสร้างนักธุรกิจที่เก่ งที่สุดหรือหาทีมที่ขายสินค้ าได้มากที่สุด แต่เป็นการให้โอกาสในการเรียนรู้ ที่จะเป็นผู้ประกอบการครั้ งแรกในชีวิตให้กับเยาวชนเพื่ อนำไปประยุกต์ใช้ต่อไปในอนาคต และสามารถใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล ตลอดจนการเป็นพลเมืองที่มีคุ ณภาพ ที่จะเป็นผู้นำในการสร้ างการเปลี่ยนแปลง และสามารถเผยแพร่แบ่งปันความรู้ ใหม่ ทักษะใหม่ และประสบการณ์ เพื่อทำคุณประโยชน์ให้กับบ้ านเกิด ชุมชน สังคม และประเทศชาติได้อย่างยั่งยืน
ผู้สนใจสามารถติดตามรายละเอี ยดได้ที่เว็บไซต์มูลนิธิเพาะพั นธุ์ปัญญา https://www. pohpunpanyafoundation.org/
เสียงสะท้ อนจากเยาวชนในโครงการเพาะพันธุ์ ปัญญาแคมป์ รุ่นปี 2567
นางสาวพิมพ์พิศุทธิ์ ปานหยวก หรือ เรโอ ตัวแทนจากทีมอำเภอท่าวังผา แบรนด์ “สปาไกตี้” (สปาเก็ตตี้เส้นไก และซอสน้ำพริกอ่อง) เล่าให้ฟังว่า การได้มีโอกาสเข้าร่ วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญาแคมป์ ในครั้งนี้ นอกจากได้เรียนรู้กระบวนการทำธุ รกิจว่ามีขั้นตอนอย่างไรแล้ว ตนยังได้รู้จักวิธีการหากลุ่มลู กค้า ได้ฝึกฝนการนำเสนอไอเดียให้กั บคณะกรรมการ (บอร์ด) เหล่านี้ล้วนเป็นประสบการณ์ แปลกใหม่ที่ทำให้ตนเองและเพื่ อนในทีมเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกั บการทำธุรกิจไปเลย จากเดิมที่คิดว่าแค่ซื้ อมาขายไปขอแค่มีกำไรก็พอ ไม่สนว่าจะขายที่ไหน ขายให้ใคร
“พอได้ลงมือปฏิบัติจริงถึงรู้ว่ าการทำธุรกิจหนึ่งให้เติบโตได้ ไม่ใช่เรื่องง่าย เราต้องจริงจังทุกขั้ นตอนโดยเฉพาะเรื่อง เงิ นและการขาย หนูไม่คิดว่าต้องมาทำอะไรแบบนี้ พอได้มาทำมาเข้าแคมป์ถึงได้รู้ ว่ากว่าจะมีคนเข้าใจสินค้ าของเรา กว่าที่คนจะยอมจ่ายเงินซื้อสิ นค้าของเราต้องวางแผนให้รัดกุ มและใช้เวลา”
นายวีรภัทร เขียวสุวรรณ หรือ วี ตัวแทนจากทีมอำเภอเวียงสา แบรนด์ “ผึ้งปิ๊กน่าน” (ขนมไวท์ช็อคโกแลตสอดไส้น้ำผึ้ งเวียงสาแท้ 100% ในรูปแบบกล่องของฝากจากเมืองน่ าน) เล่าให้ฟังว่า ตนเองและเพื่อนในทีมจากเดิมเป็ นคนขี้อาย ไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น พอได้เข้าร่วมโครงการเพาะพันธุ์ ปัญญาแคมป์ ได้รู้จักเพื่อนจากโรงเรียน อื่ นๆ ได้เจอพี่ๆ จากมูลนิธิฯ และคณะอาจารย์ที่คอยสนับสนุน เราเหมือนเป็นคนใหม่ ทุกคนเติบโตและมีความกล้ามากขึ้ น ไม่ว่าจะกล้าคิดกล้าทำ กล้าตัดสินใจ นอกจากนี้ มุมมองในการทำธุรกิจก็เปลี่ ยนไปหลังจากได้ลงมือปฏิบัติจริ ง ก็เห็นว่ามีหลายขั้นตอนที่ต้ องละเอียดอย่างมาก และต้องมีการวางแผนที่ชัดเจนด้ วย ไม่อย่างนั้นธุรกิจเราก็จะเดิ นหน้าต่อไปไม่ได้
นายภูผา ดีอุ่น หรือ ภูผา ตัวแทนจากทีมอำเภอนาหมื่น แบรนด์ “Sill Feed” (ผลิตภัณฑ์ผงโรยอาหารสุนั ขและแมว) เล่าต่อว่า หลังจากที่ได้เข้าร่ วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญาแคมป์ ตนเองได้ความรู้เกี่ยวกั บการทำธุรกิจเยอะมาก อาทิ การคิดค้นผลิตภัณฑ์ การหาตลาด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ตนคิดว่ าจะสามารถนำไปต่อยอดหรือใช้ ความรู้เหล่านี้ในอนาคตได้ อย่ างแน่นอน เผื่อในอนาคตอยากมีธุรกิจเป็ นของตนเอง
ด้าน นางสาวณัฏฐธิดา ต๊ะเสน หรือ พลอย หนึ่งในทีมอำเภอนาหมื่น เสริมว่า ตนเชื่อว่าองค์ความรู้ ประสบการณ์ที่ได้ จากโครงการเพาะพันธุ์ปัญญาแคมป์ ในครั้งนี้จะถูกนำไปปรับใช้ ในอนาคตอย่างแน่นอน อย่างน้อยมันจะเป็นพื้นฐานว่ าการจะมีธุรกิจเป็นของตนเองได้ จะเริ่มต้นอย่างไร ต้องมีอะไร และดำเนินการวางแผนอย่างไรถึ งจะประสบผลสำเร็จ
“ค่ายเพาะพันธุ์ปัญญาแคมป์ทำให้ ทุกคนรู้จักการทำงานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ ไม่ทิ้งงาน ไม่ละเลยหน้าที่ของแต่ละคนที่ ได้รับมอบหมาย ทุกคนจะรู้ว่าหน้าที่ของตนเองคื ออะไรและทำมันให้เต็มที่ ถ้าเราอยู่ในวัยที่สูงขึ้นหรื อว่าอยู่ในวัยทำงาน สิ่งเหล่านี้ที่ได้เรียนรู้ มาจะทำให้ทุกคนสามารถปรับตัวได้ ง่าย เพื่อทำให้งานออกมามีประสิทธิ ภาพมากที่สุด ที่สำคัญเราทุกคนรู้คุณค่ าของเงิน ได้เรียนรู้ว่าเงินนั้นหายาก”
นางสาวงามเนตรรวี แสงคำ หรือ ยู ตัวแทนจากทีมอำเภอแม่จริม แบรนด์ “InsTAN” (ผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋ นไบท์) เล่าปิดท้ายถึ งประสบการณ์และความประทับใจต่ อการเข้าร่วมโครงการเพาะพันธุ์ ปัญญาแคมป์ว่า ตลอด 79 วันที่ผ่านมา พวกเราทุกคนเติบโตขึ้นเยอะมากมี หลายสิ่งหลายอย่างเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็น เรื่องการรู้คุณค่าของเงิน ได้เรียนรู้ว่าเงินนั้นหามายาก นอกจากนี้ สิ่งที่ได้เรียนรู้ นอกจากการทำธุรกิจอีกอย่าง คือ ได้ลองนำเสนองานให้กับฝ่ายบริ หาร ขายงานต่อหน้าผู้ถือหุ้น ซึ่งถือเป็นสิ่งใหม่ที่ทุกคนไม่ เคยได้ทำในห้องเรียน