บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) ผู้พัฒนาศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิ ลด์ เซ็นทรัลพลาซา เซ็นทรัลเฟสติวัล เซ็นทรัล ภูเก็ต และ เซ็นทรัล วิลเลจ ลักชูรี่ เอาท์เล็ตแห่งแรกของไทย ชวนคนไทยและทุกภาคส่วน สร้างการเปลี่ยนแปลงร่วมกัน เดินหน้าภารกิจระดับโลกเพื่อสิ่ งแวดล้อมโลกที่ดีขึ้น #BetterPlanet ด้านการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน รักษ์สิ่งแวดล้อม ควบคู่การจัดการพลั งงานและเศรษฐกิจหมุนเวียน ชูจุดแข็งในการเป็น ศูนย์กลางการใช้ชีวิตของทุกที่ ของประเทศ กว่า 33 สาขา ทุกภูมิภาค ทั่วไทย หากทุกภาคส่วนจับมือร่วมกัน เชื่อว่าสามารถสร้างการเปลี่ ยนแปลงได้อย่างชัดเจน เตรียมเดินหน้าร่วมมือกับองค์ กรและตัวแทนนานาชาติ สำนักนโยบายสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร องค์การบริหารส่วนจังหวัดในจั งหวัดต่างๆ เร่งสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิ งบวกในระดับประเทศให้เกิดขึ้ นจริง
นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง และ ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและการพั ฒนาที่ยั่งยืน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จากัด (มหาชน) กล่าวว่า “ตลอด 40 ปีที่ผ่านมา เซ็นทรัลพัฒนา มองว่า ความยั่งยืนของชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม และการดำเนินธุรกิจ เป็นเรื่องเดียวกัน โดยถือเป็นภารกิจสำคัญที่เราต้ องขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ ยนแปลงเชิงบวกให้มากที่สุด เพราะศูนย์การค้าเซ็นทรัลเป็นศู นย์กลางของการใช้ชีวิตที่เป็นส่ วนหนึ่งของชุมชน เราจึงเดินหน้าทางานร่วมกับองค์ กรต่างๆ ทั้งระดับโลก ระดับประเทศ และระดับท้องถิ่น เพื่อร่วมกันสร้างสิ่งแวดล้ อมโลกที่ดีขึ้น #BetterPlanet โดยมีเป้าหมายในการลดปล่อยก๊ าซเรือนกระจก หรือ คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) และเพิ่มปริมาณพื้นที่สีเขียว ซึ่งจะช่วยพัฒนาเมืองและถิ่ นฐานมนุษย์อย่างยั่งยื นและลดผลกระทบเกี่ยวกับการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก”
โดยบริษัทฯ ได้ริเริ่มและดำเนินโครงการ Journey to Zero ที่มุ่งลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก มาอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยการดำเนินงานใน 3 มิติที่สำคัญ ดังนี้
• Collaborative Waste Management: การจัดการขยะร่วมกับผู้ที่เกี่ ยวข้องอย่างเป็นระบบ โดยตั้งเป้าลดขยะฝังกลบลงให้ได้ ร้อยละ 50 ของปริมาณขยะทั้งหมดและบริษัทฯ มุ่งที่จะสนับสนุนให้คนไทยทุ กคนสามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่ งในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีได้ ง่าย ผ่านการแยกขยะผ่านจุดขยะคัดแยก Recycle Station ในศูนย์การค้าเซ็นทรัลทุกสาขา ผ่านโครงการ ‘ทิ้งดี’ ซึ่งมีการบริหารจัดการขยะตั้ งแต่การแยกประเภทขยะ การจัดเก็บไปจนถึงการนำขยะแต่ ละประเภทไปบริหารจัดการอย่ างเหมาะสมเพื่อให้เป็น Circular Economy โดยการผนึกกำลังกับพันธมิ ตรและคู่ค้าร่วมกันพั ฒนากระบวนการดำเนินการอย่ างครบวงจร อาทิ สำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ภายใต้โครงการสานพลังประชารัฐ จัดทำโครงการ ‘มือวิเศษ x วน’ โดย PPP Plastics, ร่วมกับ AIS จัดการขยะ E-waste, ร่วมกับโค้ก (ประเทศไทย) คัดแยกบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วเพื่ อแปรรูปใหม่, ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ภาคีผู้ประกอบการอาคารบนถนนรั ชดาฯ ในการคัดแยกขยะพลาสติก ภายใต้โครงการ “Care The Whale” เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังตั้งเป้าเป็นต้นแบบองค์กรที่ จัดการขยะนับตั้งแต่เริ่มก่อสร้ างโครงการ ด้วยการรีไซเคิลเสาเข็ม จำนวน 2,000 ตัน ซึ่งเท่ากับ 20% ของปริมาณทั้งหมด นำร่องแล้วที่เซ็นทรัล ศรีราชา โดยความร่วมมือกับ SCG
• Efficient Water Management: การจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิ ภาพโดยตั้งเป้าเพิ่มปริมาณน้ำรี ไซเคิลให้ได้ร้อยละ 20 ของปริมาณการใช้น้ำภายในศูนย์ การค้า ซึ่งมีการดำเนินการภายใต้แนวคิด Reduce – Reuse – Recycle ตั้งแต่ การกำหนดมาตรฐานการออกแบบระบบกา รใช้น้ำและการเลือกใช้อุปกรณ์ ประหยัดน้ำ การกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจนการรณรงค์และการจัดการน้ำ อย่างรู้คุณค่ากับร้านค้าและลู กค้าที่มาใช้บริการศูนย์การค้า
• Sustainable Energy Management: การจัดการพลังงานอย่างยั่งยืนซึ่ งประกอบด้วยการเพิ่มประสิทธิ ภาพการใช้พลังงานและการเพิ่มสั ดส่วนการใช้พลังงานทางเลือก โดยตั้งเป้าหมายลดการใช้พลั งงานไฟฟ้าของบริษัทฯ ร้อยละ 20 และเป้าหมายการใช้พลังงานทางเลื อกในทุกศูนย์การค้า โดยบริษัทฯ ดำเนินการปรับปรุงทั้ งการออกแบบอาคารที่ประหยัดพลั งงาน การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์และการบริ หารระบบการใช้พลังงาน ทำให้การอัตราการใช้พลั งงานลดลงอย่างต่อเนื่องและได้รั บรางวัลอาคารประหยัดพลังงานทั้ งในระดับประเทศและระดับสากล นอกจากนี้บริษัทฯ ติดตั้ง Solar Rooftop ในศูนย์การค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่ อเนื่องทั่วประเทศ
บริษัทฯ ยังเน้นการเพิ่มพื้นที่สีเขี ยวในโครงการเพื่อสร้ างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดี ให้กับชุมชน โดยตั้งเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนพื้ นที่สีเขียวในศูนย์การค้าที่ จะสร้างขึ้นในอนาคตให้มากกว่า 10% ของพื้นที่ทั้งหมด อาทิ ดุสิต เซ็นทรัล พาร์ค, เซ็นทรัล จันทบุรี, เซ็นทรัล อยุธยา และ เซ็นทรัล ศรีราชา เพื่อช่วยสร้างออกซิ เจนและกรองฝุ่นละอองให้ผู้มาใช้ ชีวิตรอบศูนย์การค้า และยังเป็นการเอื้อต่อการสร้ างแหล่งอยู่อาศัยให้กับสิ่งมีชี วิตตามธรรมชาติที่อาศัยอยู่ ในเมือง (Urban Wild Life) เช่น นก แมลง กระรอก อีกทั้ง ยังมีแนวคิด ‘เปลี่ยนพื้นที่รอการก่อสร้ างเป็นพื้นที่สีเขียวและเอื้ อประโยชน์ให้กับเกษตรกร’ ซึ่งริเริ่มนาร่องแล้วบนที่ดิ นของบริษัท G Land ที่เซ็นทรัลพัฒนาเป็นผู้ถือหุ้ นใหญ่ โดยคาดว่าจะสามารถเปิดให้ ประชาชนเข้าใช้บริการได้ ในไตรมาส 3-4 ของปีนี้ เมื่อสถานการณ์โควิดมีแนวโน้มที่ ดีขึ้น”
ทั้งนี้เซ็นทรัลพัฒนาขออาสาเป็น ‘ผู้ประสานและแสวงหาความร่วมมื อ’ สร้างเครือข่ายขับเคลื่อนอย่ างเป็นองค์รวมในทุกระดับ ทั้งระดับภาคประชาชน ภาคการศึกษา ภาคสังคม ภาคเอกชน และ ภาครัฐ อย่างครบวงจร เพราะปัญหาใหญ่ด้านสิ่งแวดล้ อมของโลก คือ ความเชื่อมโยงในระดั บนโยบายและภาคปฏิบัติ เพื่อร่วมกันสร้างการเปลี่ ยนแปลงได้อย่างมหาศาล
ตลอด 40 ปี เซ็นทรัลพัฒนาเป็น ’องค์กรต้นแบบภาคเอกชนที่ดี’ ในการพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนกั บคนทุกกลุ่ม โดยผนวกเรื่องของความยั่งยืนเข้ าไปในกลยุทธ์การทำธุรกิจ มีเป้าประสงค์ขององค์กรที่ชั ดเจนในการมุ่งมั่นที่จะสร้ างสรรค์สิ่งดี เพื่ออนาคตที่ยั่งยืนสาหรับทุ กคน จนได้รับการเลือกให้เป็นสมาชิ กของ Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI จึงเปรียบเหมือนผู้เล่นระดั บโลก’ (Global Player) ในด้าน Sustainability
ปัจจุบัน เซ็นทรัลพัฒนา ได้นำแนวทาง Sustainable Development Goals หรือ SDGs ระดับนานาชาติ 5 ประการในการจัดการที่ยั่งยื่นด้