ผลสำรวจสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ ความรู้สึกของประชาชนต่อราคาไข่ของนายกรัฐมนตรี จากกลุ่มเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้งสิ้น 1,103 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 22-23 ม.ค.ที่ผ่านมา
ความรู้สึกต่อนโยบายชั่งไข่กิโล | |
แปลกและเป็นธรรม | 47.9 % |
น่าขบขัน และไม่น่าทำ | 42.8 % |
ซ้ำเติมประชาชน | 9.3 % |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ราคาไข่มาร์ค – ไข่ทักษิณ ใครน่าประทับใจกว่ากัน | |
ไข่มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | 37.1% |
ไข่แม้ว ทักษิณ ชินวัตร | 36.5% |
ไข่เติ้ง บรรหาร ศิลปอาชา | 11.9% |
ไข่ชวน ไข่ชาติชาย ไข่จิ๋ว | 14.5% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ไข่ชั่งกิโลทำให้คะแนนนิยม “มาร์ค” ดีขึ้นหรือไม่ | |
ความนิยมเพิ่มขึ้น | 14.9% |
ความนิยมไม่เพิ่มขึ้น | 32.4% |
ความนิยมเท่าเดิม | 50% |
ความนิยมลดลง | 22.4% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
สวนดุสิตโพลล์ สำรวจความคิดเห็นจากประชาชนในกรุงเทพฯ ปริมณฑล กรณี ไข่ชั่งกิโล จำนวนทั้งสิ้น 1,262 คน ระหว่างวันที่ 20-22 มกราคม 2554
ความเห็นต่อนโยบายทดลองไข่ไก่ชั่งกิโล | |
ไม่เห็นด้วย | 66.29% |
ยุ่งยากเกินไป | 56.63% |
เห็นด้วย | 12.06% |
ลดต้นทุนการคัดแยกไข่ | 13.85% |
ที่มา : สวนดุสิตโพลล์ |
ทัศนคติต่อการชั่งกิโลไข่ไก่ | |
ไม่แน่ใจว่านโยบายดีหรือไม่ | 21.65% |
ข้อดี-ข้อเสียเท่ากัน | 29.52% |
สร้างความยุ่งยากให้ผู้ซื้อ-ผู้ขาย | 22.78% |
ที่มา : สวนดุสิตโพลล์ |
ข้อดี-ข้อเสียของนโยบายชั่งกิโลไข่ไก่ | ||
ข้อดี | ลดขั้นตอน ค่าใช้จ่ายในการแยกไข่ | 47.54% |
ผู้บริโภคได้ไข่ราคาถูก | 28.11% | |
ข้อเสีย | สร้างความยุ่งยากให้ผู้ซื้อ-ผู้ขาย | 40.09% |
พ่อค้า-แม่ค้าโกงตาชั่ง และเศษเงิน | 16.60% | |
ที่มา : สวนดุสิตโพลล์ |
นโยบายประชาวิวัฒน์มีผลต่อการเลือกประชาธิปัตย์หรือไม่ | |
ไม่มีผลต่อการเลือก ปชป. | 71.9% |
มีผลต่อการเลือก ปชป. | 28.1% |
นโยบายนี้มีประโยชน์ต่อประชาชนหรือไม่ | |
ไม่มีประโยชน์ | 58.9% |
มีประโยชน์ | 41.1 |
นโยบายประชาวิวัฒน์ตรงกับความต้องการหรือไม่ | |
ตรงกับความต้องการ | 91.3% |
ไม่ตรงกับความต้องการ | 8.7% |
ที่มา : กรุงเทพโพลล์ |
นโยบายประชาวิวัฒน์ลดความเหลื่อมล้ำได้หรือไม่ | |
ไม่แน่ใจ | 49.6% |
แก้ปัญหาได้ | 31.2% |
แก้ปัญหาไม่ได้ | 19.3% |
ที่มา : กรุงเทพโพลล์ |
ความเข้าใจและเชื่อมั่นนโยบายประชาวิวัฒน์ | |
ลดค่าครองชีพ | 73.0% |
แก้ปัญหาการเงิน | 62.5% |
หลักประกันสุขภาพ | 62.0% |
ที่มา : เอแบค โพลล์ |
ความไม่เชื่อมั่น และไม่เข้าใจนโยบายประชาวิวัฒน์ | |
แก้ปัญหาทุจริต คอร์รัปชั่น | 66.3% |
การกระจายที่ดิน โฉนด | 56.6% |
ความปลอดภัยในทรัพย์สิน | 49.1% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ประชาวิวัฒน์เป็นเรื่องใหม่ หรือเรื่องเก่า | |
เป็นเรื่องเก่าที่เคยทำมาแล้ว | 68.7% |
เป็นเรื่องใหม่ที่เพิ่งรับรู้ | 31.3% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ความเป็นห่วงต่อนโยบายประชาวิวัฒน์
- ความไม่ยั่งยืนในนโยบาย
- ประชาชนคอยรับสิ่งที่รัฐบาลให้
- ความเท็จในการรายงานถึงความสำเร็จของโครงการ
ที่มา : แอแบคโพลล์
ข้อเสนอในการปรับนโยบายประชาวิวัฒน์ในอนาคต
- เร่งหามาตรการสนับสนุนให้เกิดความยั่งยืน
- เร่งกระจายทรัพยากรให้ประชาชนและชุมชนได้ครอบครอง
- เร่งแก้ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น
ที่มา : เอแบคโพลล์
นโยบายประชาวิวัฒน์กับการตัดสินใจเลือกพรรค | |
เลือกประชาธิปัตย์ | 27.7% |
เลือกเพื่อไทย | 12.3% |
ไม่ระบุพรรคการเมือง | 41.3% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
เพศกับการเลือกพรรคการเมือง | ||
ประชาธิปัตย์ | ผู้หญิง | 52.4% |
 : | ผู้ชาย | 41.7% |
เพื่อไทย | ผู้หญิง | 28.4% |
ผู้ชาย | 35.4% | |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
อายุกับการเลือกพรรคการเมือง | ||
ประชาธิปัตย์ | อายุ 50 ปีขึ้นไป | 50.5% |
อายุต่ำกว่า 20 ปี | 39.7% | |
เพื่อไทย | อายุ 50 ปีขึ้นไป | 29.3% |
อายุต่ำกว่า 20 ปี | 39.3% | |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ระดับการศึกษากับการเลือกพรรคการเมือง | |
ประชาธิปัตย์ | |
ต่ำกว่าปริญญาตรี | 48.2% |
ปริญญาตรี | 43.5% |
สูงกว่าปริญญาตรี | 43.8% |
เพื่อไทย | |
ต่ำกว่าปริญญาตรี | 31.6% |
ปริญญาตรี | 33.3% |
สูงกว่าปริญญาตรี | 18.8% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
กลุ่มอาชีพกับการเลือกพรรคการเมือง | |
ประชาธิปัตย์ | |
ข้าราชการ-รัฐวิสาหกิจ | 43.4% |
นักธุรกิจ-ค้าขาย | 53.6% |
พนักงานบริษัทเอกชน | 44.1% |
เกษตรกร-ผู้ใช้แรงงาน | 42.9% |
นักเรียน-นักศึกษา | 46.8% |
เพื่อไทย | |
ข้าราชการ-รัฐวิสาหกิจ | 40.6% |
นักธุรกิจ-ค้าขาย | 26.1% |
พนักงานบริษัทเอกชน | 32.8% |
เกษตรกร-ผู้ใช้แรงงาน | 33.2% |
นักเรียน-นักศึกษา | 35.6% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ระดับรายได้กับการเลือกพรรคการเมือง | ||
รายได้ (บาทต่อเดือน) | ประชาธิปัตย์ | เพื่อไทย |
ต่ำกว่า 5,000 | 44.7% | 33.0% |
5,001 – 10,000 | 53.1% | – |
10,001 – 15,000 | 50.2% | – |
15,001 – 20,000 | 49.6% | – |
20,000 ขึ้นไป | 40.5% | 37.2% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
การเลือกพรรคในพื้นที่ภาคต่าง ๆ | ||
พื้นที่ | ประชาธิปัตย์ | เพื่อไทย |
ภาคเหนือ | 45.4% | 31.4% |
ภาคกลาง | 39.2% | 31.6% |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | 37.2% | 44.5% |
ภาคใต้ | 82.2% | 3.0% |
กรุงเทพฯ | 38.2% | 43.4% |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |
ความเชื่อมั่นต่อเสถียรภาพของรัฐบาลชุดปัจจุบัน | |
มากขึ้น | 10.4 % |
เท่าเดิม | 26.1 % |
ลดลง | 63.5 % |
ที่มา : เอแบคโพลล์ |