KKP Research โดยเกียรตินาคินภัทร ประเมินว่าถึงแม้นักท่องเที่ ยวจะยังคงสามารถกลับเข้ามาได้ หลังจากโควิด-19 จบลง ภาคบริการที่พึ่งพาเฉพาะการท่ องเที่ยวจะไม่เพียงพอเป็นแรงขั บเคลื่อนให้กับเศรษฐกิ จไทยในระยะยาว
จากเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันที่
ยิ่งไปกว่านั้นยังมีความเสี่
เหตุการณ์นี้กำลังเร่งให้ไทยต้
ภาคบริการเดิมไม่สามารถขับเคลื่ อนเศรษฐกิจระยะยาว
ภาคบริการมีความหลากหลายตามนิ
- กลุ่มบริการสมัยใหม่ที่เน้
นการใช้นวัตกรรม เช่น กลุ่มสื่อสารและสารสนเทศ - กลุ่มบริการดั้งเดิมที่เน้
นการใช้แรงงานทักษะต่ำ และเน้นการค้าระหว่างประเทศ (Low-Skill Tradable Services) เช่น ธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจขนส่ง - กลุ่มบริการที่ใช้แรงงานทักษะต่ำ
และพึ่งพาการบริโภคในประเทศเป็ นหลัก (Low-Skill Domestic Services) เช่น ค้าปลีก อสังหาริมทรัพย์ - กลุ่มบริการที่เน้นแรงงานทั
กษะสูง (High-Skill Intensive) เช่น แพทย์ การศึกษา
เมื่อพิจารณาลักษณะของภาคบริ
- โครงสร้างภาคบริการไทยยังอยู่
ในกลุ่มบริการแบบเก่า เช่น การค้าปลีกค้าส่ง การขนส่ง การให้บริการสาธารณะ ซึ่งมีมูลค่าเพิ่มน้อย - ภาคบริการไทยไม่ได้ทำหน้าที่สนั
บสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรม - การเติบโตหลักของบริ
การในระยะหลังเกิดจากภาคการท่ องเที่ยวเพียงอย่างเดียว ซึ่งสะท้อนทิ ศทางนโยบายของไทยในอดีตว่า ภาคบริการไทยยังไม่ได้รับการใส่ ใจจากนโยบายภาครัฐและไม่ได้ถู กผนวกเข้าเป็นกลยุทธ์การพั ฒนาเศรษฐกิจระยะยาวทำให้โครงสร้ างภาคบริการของไทยยังเป็นภาคบริ การแบบเก่า
บริการโตได้…แต่ตามหลั งประเทศพัฒนาแล้ว
ภาคบริการเป็นแหล่งรายได้สำคั
KKP Research มองว่าลักษณะสำคัญของบริ
สำหรับเศรษฐกิจไทยถือว่ามีสัดส่
KKP Research ประเมินว่าลักษณะของภาคบริ
1) ภาคบริการสมัยใหม่มีลักษณะที่
2) ภาคบริการสมัยใหม่สามารถเพิ่
3) เทคโนโลยีใหม่มีส่วนสำคั
ลักษณะของภาคบริการสมัยใหม่
การพัฒนาภาคบริการไทยยังเผชิญอุ ปสรรคมหาศาล
ภาคบริการในแต่ละกลุ่มมี
- ภาคบริการสมัยใหม่ (Modern Services) มีโอกาสเติบโตจากการยกระดับสู่
เศรษฐกิจดิจิทัล แต่ไทยขาดการลงทุนด้าน R&D และนวัตกรรม และแรงงานมีฝีมือซึ่งเป็นอุ ปสรรคสำคัญต่อการพัฒนา ทำให้ในระยะสั้นประเทศไทยจะไม่ มีศักยภาพมากพอในการพัฒนาไปสู่ Modern Services และเป็นศูนย์กลางบริ การของโลกได้ - ภาคการเงินมีโอกาสเติ
บโตจากความเชื่ อมโยงของภาคการเงินระหว่ างประเทศที่มากขึ้น แต่ไทยยังมีอุปสรรคด้านกฎระเบี ยบและข้อจำกัดในระบบการเงิน โอกาสในการเป็นศูนย์ กลางทางการเงินของภูมิภาค (Financial Center) ในไทยจึงมีความท้าทายสูง - อุตสาหกรรมที่พึ่งพาแรงงานทั
กษะต่ำ (Low-Skilled Labor) เช่น การท่องเที่ยว การค้าปลีกค้าส่ง ยังเติบโตได้จากนักท่องเที่ยวต่ างชาติแต่ในระยะยาวต้องเพิ่มมู ลค่าให้สูงขึ้น ภาคบริการในกลุ่มนี้ของไทยมี โอกาสเติบโตได้แต่ต้องหันไปพึ่ งพาปัจจัยด้านคุณภาพมากขึ้น เช่น พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นการท่ องเที่ยวมูลค่าสูงรวมทั้งพั ฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลสำหรับการท่ องเที่ยวและการค้า - บริการที่เน้นแรงงานทักษะสูงมี
โอกาสเติบโตต่อเนื่ องโดยเฉพาะแนวโน้มความต้องการดู แลสุขภาพและการเข้าสู่สังคมสู งอายุ แต่ไทยยังการขาดแคลนแรงงานที่มี ทักษะเฉพาะทางและเทคโนโลยีด้ านการสื่อสารขั้นสูง บริการสุขภาพของไทยมีศั กยภาพในการเติบโตผ่านการสนับสนุ นท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ แต่ต้องเร่งดำเนินการในหลายเรื่ อง คือ 1) เพิ่มจำนวนแรงงานเชี่ ยวชาญเฉพาะด้าน 2) การเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้ างพื้นฐานดิจิทัลและโทรคมนาคม
นโยบายภาครัฐ ปัจจัยสำคัญเพื่อขับเคลื่ อนภาคบริการ
แม้ภาคบริการอื่นๆ ของไทยนอกเหนือจากการท่องเที่
ทั้งในแง่ของการช่วยส่งเสริ
KKP Research โดยเกียรตินาคินภัทร สรุปภาพรวมว่าเพื่อให้
- การปฏิรูปกฎระเบียบ เพิ่มการแข่งขันในภาคบริการ
- การปฏิรูปและปรับปรุงระบบการศึ
กษาและการพัฒนาทักษะแรงงาน การพัฒนาภาคบริการจะเกิดขึ้นได้ จากแรงงานที่มีทักษะสูงซึ่งเป็ นวัตถุดิบสำคัญของภาคบริการซึ่ งต่างจากภาคอุตสาหกรรม - การลดการกีดกันทางการค้าระหว่
างประเทศของภาคบริการ ภาคบริการยังถือเป็นหนึ่ งในภาคเศรษฐกิจที่ได้รับการปกป้ องมากที่สุดของไทย การเปิดเสรีจะช่วยให้การพั ฒนาภาคบริการเกิดเร็วขึ้น - เพิ่มความแข็งแกร่งให้กั
บตลาดแรงงานและตลาดทุน โดยเปิดให้มีการแข่งขั นในตลาดแรงงาน และตลาดทุนอย่ างเสรี จะช่วยส่งเสริมให้เกิ ดแรงจูงใจในการพัฒนานวั ตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆ ในกลุ่มผู้ประกอบการในภาคบริการ
การพัฒนาภาคบริ