การศึกษาพฤติกรรมผู้ใช้โมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile Application) เฉพาะตลาดไทยมีผลงานออกมาให้เห็นน้อยมาก ส่วนใหญ่มีแต่ตัวเลขจากต่างประเทศ ซึ่งกว่าจะเกิดขึ้นจริงในไทยก็อาจจะต้องใช้เวลารออีกสักระยะ หรือคาดเดากันว่าแนวโน้มจะเป็นไปตามปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศหรือไม่
ล่าสุดปลายเดือนสิงหาคม 2555 มีผลงานวิจัยเรื่อง “ก้าวทันลูกค้ายุคใหม่ สร้างรายได้ให้ธุรกิจ” โดยทีมงานนักศึกษากลุ่ม Mobile Apps ของวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ทำการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มผู้ใช้โมบายแอพฯในไทยไว้อย่างละเอียด เพื่อมุ่งหวังให้ผู้ประกอบการนำผลที่ได้นำแอพพลิเคชั่นมาปรับใช้เป็นกลยุทธ์ให้เหมาะกับธุรกิจและเหมาะกับยุคสมัย
โดยทำการวิจัยกับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้โมบายแอพจำนวน 700 ตัวอย่าง ร่วมกับการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อใช้งานในธุรกิจอีกกว่า 12 ราย และนี่คือผลวิจัยบางส่วนที่สะท้อนพฤติกรรมผู้ใช้โมบายแอพเมืองไทยที่อัพเดทที่สุด
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>ปี
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>จำนวน
(ล้านเครื่อง)
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>มูลค่า
(ล้านบาท)
(+165%)
ช่วงอายุของคนใช้โมบายแอพพลิเคชั่น
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของคนใช้โมบายแอพพลิเคชั่น
Mobile Apps ในไทยถูกใช้งานผ่าน iOS มากกว่า Android
คนใช้ Apps ส่วนใหญ่ชอบของฟรี แต่ก็มีถึง 1 ใน 3 ที่ยอมจ่ายเงิน
คนใช้Apps ผ่านระบบปฏิบัติการ iOS จ่ายค่าโทรศัพท์ต่อเดือนมากกว่าคนใช้ Android
โหลด Apps แบบฟรี+เสียเงิน กับโหลดใช้ฟรี ๆ และจ่ายเงิน สัดส่วนพอ ๆ กัน
คนใช้ Apps เกือบครึ่งเฉลี่ยดาวน์โหลดApps เดือนละ 2-5 ครั้ง
ส่วนใหญ่ใช้ Apps วันละ 1-3 ชั่วโมง
คนโหลด Apps แบบเสียเงิน วันหนึ่งมีช่วงเวลาใช้งาน Apps สูงสุด 2 ครั้งในหนึ่งวัน
การใช้งาน Apps กลุ่มเสียเงินมีความถี่การใช้น้อยกว่ากลุ่มอื่นแต่ใช้นานกว่า
คนจ่ายเงินโหลด Apps เชื่อเรตติ้ง
ไลฟ์สไตล์ ประโยชน์ และความบันเทิง 3 เหตุผลของการโหลด Apps
ส่วนใหญ่ใช้ Apps เพื่อ แชต โซเชียลเน็ตเวิร์ก เสิร์จ และถ่ายภาพ
รูปแบบ Apps ที่ยอมรับได้
พฤติกรรมของกลุ่มดาวน์โหลดแบบเสียเงินที่ใช้ iOS
โดย 76% ของคนจ่ายเงินดาวนโหลดจะจ่ายเงินผ่าน ID App Store (ผูกกับบัตรเครดิต)
พฤติกรรมของกลุ่มดาวน์โหลดแบบเสียเงินที่ใช้ Android
โดย 57% ของคนจ่ายเงินดาวน์โหลดจ่ายผ่าน ID Play Store (ผูกกับบัตรเครดิต)
ราคา Apps ที่ยอมจ่ายมากที่สุดของคนเสียเงินดาวน์โหลด
ตำแหน่งโฆษณาใน Apps ที่ยอมรับได้
Apps มีความหมายในชีวิตอย่างไร
Apps ที่ดีจะต้อง
มุมมอง Apps กับธุรกิจ