Tag: ขยะอิเล็กทรอนิกส์
AISยกระดับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ด้วย Blockchain บนแพลตฟอร์ม E-Waste+ เป็นรายแรกในอาเซียน
เมื่อปัญหาโลกร้อน ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม กลายเป็นหัวข้อใหญ่ที่ทุกภาคส่วนต่างให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ หลายองค์กรต่างมีหน่วยงานที่ดูแลเรื่องความยั่งยืน หรือกำหนดเป็นนโยบายใหญ่เลยก็มี เพราะเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทุกคนต้องร่วมมือกัน ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ
AIS เป็นหนึ่งในองค์กรยักษ์ใหญ่ที่ให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมและ Sustainability มาโดยตลอด เรียกว่าให้ความสำคัญควบคู่กันไปทั้งในมิติของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในภาคส่วนของสิ่งแวดล้อมนั้น ทาง AIS ได้โฟกัสทั้งในแง่ของ Emission ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคธุรกิจให้ได้มากที่สุด รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในการช่วยสิ่งแวดล้อม ทั้งการใช้ e-Bill...
งานวิจัยชี้ ‘สมาร์ทโฟน’ กว่า 5.3 พันล้านเครื่องถูก ‘เก็บไว้เฉย ๆ’ รอวันเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์
รู้หรือไม่ว่าการกำจัด ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หากไม่ทำอย่างถูกวิธีจะส่งผลให้เกิด ก๊าซมีเทน และมีศักยภาพในการทำให้เกิดภาวะโลกร้อนได้ถึง 25 เท่า เมื่อเทียบกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และจากสภาพอากาศที่แปรปรวนที่เป็นผลพวงจากสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน ส่งผลให้ผู้ที่เกี่ยวข้องพยายามรณรงค์ให้ทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกวิธี
‘ออปโป้’ ประกาศวิสัยทัศน์ ‘Inspiration Ahead’ พร้อมยกระดับเทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืน
ในช่วงเกือบ 10 ปีที่ผ่านมา สมาร์ทโฟน ได้กลายเป็นอวัยวะชิ้นที่ 33 ของคนทั่วโลกไปเรียบร้อยแล้ว โดยในแต่ละปีมียอดขายรวมกว่า 100 ล้านเครื่องทั่วโลก ซึ่งหนึ่งในปัญหาที่ตามมาก็คือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ และกำลังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของโลก
e-waste จะเพิ่มเป็น 74.7 ล้านเมตริกตันในปี 2030
จากรายงานของ The Global E-Waste Monitor 2020 มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ (United...
AIS เปิดโครงการ ฝากทิ้ง E-Waste ขยะอิเล็กทรอนิกส์ กับพี่ไปรษณีย์ได้ฟรี!
ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ (E-Waste) ถือเป็นอีก 1 ประเด็นที่หลายภาคส่วนต่างออกมารณรงค์ให้คนไทยตระหนักและให้ความสำคัญกับการทิ้งอย่างถูกที่ และถูกวิธี เพราะขยะประเภทนี้นอกจากจะไม่ย่อยสลายตามธรรมชาติแล้ว ยังปลดปล่อยสารพิษลงสู่สภาพแวดล้อม ซึ่งท้ายที่สุดก็จะย้อนกลับมาทำร้ายพวกเราได้อีกด้วย
‘AIS’ ผุดแคมเปญ ‘E-Waste ทิ้งรับพอยท์’ แก้ปัญหาคนไม่อยากทิ้ง
จากรายงานของ The Global E-Waste Monitor 2020 มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ (United Nation University, UNU) คาดการณ์ว่าปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นทั่วโลกจะมีมากถึง 53.6 ล้านเมตริกตัน ในปี 2019 และจะสูงขึ้นถึง 74.7 ล้านเมตริกตันในปี 2030 โดยทวีปเอเชียเป็นทวีปที่ผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์สูงที่สุดกว่า 24.9 ล้านเมตริกตัน ในปริมาณขยะทั้งหมดมีเพียง 17.4% ที่ได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธี ที่เหลืออีกกว่า 82.6% ไม่สามารถติดตามได้
‘ดีแทค’ พาแกะรอย ‘ขยะอิเล็กทรอนิกส์’ พร้อมปักหมุด ‘Zero Landfill’ ในปี 2565
หากใครมีสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่พังเสียหาย หากไม่ทิ้งลงถังขยะทันทีก็อาจจะรอ ‘ซาเล้ง’ มาซื้อ ซึ่งข้อมูลของสำนักสิ่งแวดล้อมพบว่าผู้บริโภคที่ขายให้ซาเล้งหรือผู้รับซื้อของเก่าคิดเป็นกว่า 50% เลยทีเดียว แน่นอนว่าพวกเขาเหล่านั้นไม่ได้มีวิธีการกำจัดอย่างถูกวิธี แต่แค่แกะของที่มีค่าเพื่อเอาไปขายอีกทอด ส่วนอย่างอื่นก็จัดการเผาไม่ก็ฝัง ซึ่งจะก่อปัญหามลพิษต่อโลก และกลับมาส่งผลต่อสุขภาพอนามัยทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของเราอีกทอด ดังนั้น 'ดีแทค' (Dtac) จึงจะพาไปดูว่าการกำจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกวิธีไม่ได้ช่วยแค่โลก แต่ยังสามารถนำไปต่อยอดสู่กิจกรรมทางเศรษฐกิจใหม่ได้อีกด้วย