พฤติกรรมออนไลน์ของชาวอาเซียน

ช่วงต้นปีที่ 2012 Nielsen Research สำรวจโลกออนไลน์ของ 6 ประเทศในกลุ่มอาเซียน กับกลุ่มผู้ใช้งานดิจิตอลอายุ 15 ปีขึ้นไป ผลสำรวจที่ได้มีทั้งพฤติกรรมที่คล้ายกัน แต่บางกิจกรรมก็แสดงให้เห็นความแตกต่างที่เป็นลักษณะเฉพาะของนิสัยของคนในแต่ละเชื้อชาติได้ด้วย  

ในสิงคโปร์นิยมใช้แล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ในบ้านสูงแซงหน้าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ 

ขณะที่ตลาดแท็บเล็ตมาแรง เติบโตอย่างรวดเร็วทั้งภูมิภาคยกเว้นในอินโดนีเซียและเวียดนาม และคาดว่าจะมีผู้ครอบครองแท็บเล็ตเพิ่มขึ้นอย่างมากภายในปีนี้ โดยเฉพาะในมาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย 

เฉพาะไทยแล็ปท็อปที่จะเกิดจากโครงการแจกแท็บเล็ตให้นักเรียนก็ขยับสูงเป็น 1 ล้านเครื่องแล้ว เป็นดีลที่รัฐบาลไทยเลือกดีลตรงกับบริษัทผู้ผลิตในเซิ่นเจิ้นประเทศจีน แทนการดีลแบบรัฐบาลต่อรัฐบาลในช่วงแรก

ในบรรดาประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูงสุดครอบคลุม 67% ของประชาการ ขณะที่อินโดนีเซียซึ่งมีประชากรเกือบ 200 ล้านคน มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพียง 21% และทุกประเทศยกเว้นฟิลิปปินส์ผู้ชายจะใช้งานอินเทอร์เน็ตมากกว่าผู้หญิง 

ขณะที่ในอินโดนีเซียคนส่วนใหญ่นิยมเลือกใช้มือถือที่ต่อเชื่อมกับอินเทอร์เน็ต โดยดูจากตัวเลขผู้ใช้ที่สูงกว่าการใช้งานคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและแล็ปท็อปมากกว่า 1-2 เท่าตัว 

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

อุปกรณ์มีครอบครองในครัวเรือน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>ประเทศ

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Desktop
Computer

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>LaptopNetbook

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>มือถือที่เข้าอินเทอร์เน็ตได้

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Tablet
Computer
อินโดนีเซีย 31 29 78 2 มาเลเซีย 77 79 77 18 ฟิลิปปินส์ 68 58 64 17 สิงคโปร์ 74 86 85 23 ไทย 70 61 77 26 เวียดนาม 75 25 32 – ที่มา :
Nielsen Research, Feb2012

การส่งข้อความในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์คกำลังจะแซงอีเมล

อีเมลยังคงเป็นกิจกรรมของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเกือบทุกประเทศ ยกเว้นในเวียดนามและอินโดนีเซีย แต่ก็เห็นได้ชัดว่ากิจกรรมในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์คมาแรงทุกที่ รวมถึงการส่งข้อความส่วนตัวผ่านเว็บไซต์โซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค ซึ่งแนวโน้มอาจจะแซงหน้าอีเมลในที่สุด 

กิจกรรมต่างๆ ที่ทำในออนไลน์ ดูแล้วก็สะท้อนพฤติกรรมคนในแต่ละประเทศได้ไม่น้อยทีเดียว ที่น่าสนใจคือคนไทยมีพฤติกรรมที่ชอบดูความคิดเห็นเกี่ยวกับแบรนด์และสินค้าติดอันดับต้นๆ ส่วนรายละเอียดอื่นแต่ละประเทศนิยมทำกิจกรรมอะไรเมื่อออนไลน์ ดูได้จากตาราง 5 กิจกรรมออนไลน์ยอดนิยมของคนอาเซียน

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

กิจกรรมออนไลน์ยอดนิยมของคนอาเซียน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>อินโดนีเซีย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>มาเลเซีย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>ฟิลิปปินส์

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>สิงคโปร์

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>ไทย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>เวียดนาม
ส่งข้อความส่วนตัวในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค (71%) e-mail (92%) e-mail (90%) e-mail (96%) e-mail (85%) e-mail (90%) แสดงความคิดเห็นในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค style=”font-weight: normal;”>(61%) แสดงความคิดเห็นในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค style=”font-weight: normal;”>(83%) แสดงความคิดเห็นในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค (83%) ดูข่าว (86%) ดูข่าว (79%) ค้นหา (81%) ค้นดูข้อมูลบุคคล

( style=”font-weight: normal;”>59%) ดูข่าว style=”font-weight: normal;”>(82%) โพสต์ข้อความบนกระดาษ/อัพเดตสถานะ/ส่งข้อความในกลุ่ม
ในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค  (81%) ค้นหา style=”font-weight: normal;”> (81%) ส่งข้อความส่วนตัวในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค (74%) IM style=”font-weight: normal;”>(68%) อัพเดตโพรไฟล์ในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค (56%) ค้นหา (79%) ดูข่าว (79%) IM (70%) อ่านความเห็นเกี่ยวกับแบรนด์/สินค้า  (70%) เล่นเกมออนไลน์ (52%) อีเมล (51%) IM (75%) IM (78%) ส่งข้อความส่วนตัวในโซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค (67%) Sharing
Content (69%) ฟังเพลงออนไลน์

 (47%) ที่มา :
Nielsen Research, Feb 2012

อย่างไรก็ตาม จากผลสำรวจของ Nielsen Research ในช่วงปลายปี 2011 ก่อนหน้านี้พบว่า ผู้ใช้งานออนไลน์ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ ล้วนเคยเข้าไปหาข้อมูลหรือมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับแบรนด์ สินค้า และบริษัทต่างๆ ในโซเชี่ยลมีเดียในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา เป็นสัดส่วนค่อนข้างสูงในทุกๆ ประเทศ 

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

สัดส่วนผู้ใช้งานดิจิตอลที่มีการติดต่อ
โต้ตอบ

กับแบรนด์ สินค้า และบริษัทผ่านโซเชี่ยลมีเดียในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา (%) Indonesia 20 Malaysia 60 Philipines 65 Singapore 56 Thailand 42 Vietnam 8 ที่มา :
Nielsen Research, November, 2011

Go online=เข้าสังคม

เฟซบุ๊กยังเป็นที่หนึ่งในบรรดาเว็บไซต์โซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค ยกเว้นในเวียดนาม ซึ่งยังมีการบล็อกการใช้งานบางทีเข้าไปเปิดดูได้แต่โพสต์หรือทำกิจกรรมใดๆ ไม่ได้เลย ทำให้เว็บไซต์ Zing ซึ่งครีเอตกันเองในประเทศได้รับความนิยมมาเป็นอันดับหนึ่ง แต่เปอร์เซ็นต์ก็ต่ำกว่าประเทศอื่นๆ ในเอเชียด้วยกันเกือบครึ่ง คาดว่าถ้ารัฐบาลเวียดนามเชิญเฟซบุ๊กไปเปิดสำนักงานในประเทศได้สำเร็จ หรือมีนโยบายที่ผ่อนปรนลง เฟซบุ๊กก็คงขึ้นเป็นที่หนึ่งเหมือนกับประเทศอื่นๆ อย่างไม่ต้องสงสัย ส่วนคนไทยยังรักเสียงเพลง (ฟรี) ทำให้เว็บอย่าง 4Shared ติดมาอยู่ในอันดับสอง แถมแซงหน้ายูทูบเสียอีกด้วย 

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

สัดส่วนการใช้งานเว็บไซต์โซเชี่ยลเน็ตเวิร์ค
(นับเฉพาะ Active Profile)

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Indonesia

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Malaysia

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Philipines

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Singapore

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Thailand

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Vietnam Facebook 90% Facebook 78% Facebook 81% Facebook 77% Facebook 56% Facebook 33% Youtube 23% Youtube 51% Youtube 51% Youtube 45% Youtube 43% Youtube 28% twitter 19% twitter 31% twitter 32% twitter 31% twitter 39% twitter 24% ที่มา :
Nielsen
Research, Feb 2012

style=”font-weight: normal; font-style: italic;”>