ลืมไพร์มไทม์ไปได้เลย

พฤติกรรมที่ชอบทำกิจกรรมหลายอย่างในเวลาเดียวกันนั้น ตอกย้ำได้จากผลสำรวจของนีลเส่น ที่พบว่าชาวออนไลน์ดูทีวีไปด้วยสูงมาก คือ 72% และฟังวิทยุไปด้วย 43% หรือหมายถึงการออนไลน์ของประชากรในโลกอินเทอร์เน็ต ส่วนหนึ่งใช้เวลากับการดูรายการทีวีต่างๆ ด้วย

กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีอุปกรณ์ที่ใช้ประจำตัวคือสมาร์ทโฟน โน้ตบุ๊ก พีซี แท็บเล็ต โดยจะดูทีวี ดูคลิปต่างๆ ผ่านอุปกรณ์เหล่านี้ ที่เชื่อมต่อสายอินเทอร์เน็ต ผ่าน Wi-Fi หรือผ่าน 3G ส่วนทีวีอาจดูบ้างไม่ดูบ้าง กลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่น คนรุ่นใหม่ วัยทำงาน ที่อยู่ในกรุงเทพ ฯ และในตัวเมือง

ไม่มีไพรม์ไทม์สำหรับคนกลุ่มนี้อีกต่อไป เพราะทุกเวลามีความสำคัญ พวกเขาอาจทำงานหลัง 2 ทุ่ม แต่กลางวันระหว่างทำงาน เขาอาจดูละครรีรัน หารายการทีวีที่คนพูดถึงมาดู ในวันหยุด หรือกลางดึกเป็นเวลาของการดาวน์โหลดหนัง หรือหารายการที่กลุ่มเพื่อนชอบดู 

อีกส่วนหนึ่งคือแนวโน้มการดูรายการทีวีนั้น การดูตามเวลาที่สถานีนั้นๆ ออกอากาศถือว่ามีสัดส่วนน้อยเมื่อเทียบกับชาวออนไลน์ของประเทศอื่นๆ ในเอเชีย เช่น อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และหันมาดูรายการทีวีจากอินเทอร์เน็ต หรือดูเมื่อสะดวกมากขึ้น ซึ่งการดูทางอินเทอร์เน็ต หรือดูเมื่อสะดวกนี้ไทยมีพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับสิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ และที่น่าสนใจคือ มีคำตอบที่บอกว่าไม่ดูทีวีเลยด้วย

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

แหล่งการดูรายการทีวีของชาวออนไลน์อายุ
15 ปีขึ้นไป

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>รายละเอียด

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>ไทย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>อินโดนีเซีย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>สิงคโปร์
ดูรายการทีวีตามเวลาที่สถานีนั้นๆ
ออกอากาศ 69% 9.3% 86% ดูทีวีหรือหนังทางอินเทอร์เน็ต
จากแหล่งที่ระบุไม่ได้ว่าอัพโหลดจากที่ไหนบ้าง 33% 10% 42% ดูทีวีออนดีมานด์
ที่มีผู้ให้บริการ 31% 3% 37% อัดรายการทีวีที่สถานีนั้นออกอากาศแล้วค่อยมาดู 22% 3% 30% บอกว่าไม่ดูทีวี 5% 4% 3%

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

5
ประเภทคอนเทนต์ที่ได้รับความนิยม

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>1.

เพลง
(มิวสิกวิดีโอ)

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>2.

หนัง

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>3.

กีฬา

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>4.

เรื่องขำๆ

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>5.

ข่าว

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”vertical-align: top; width: 177px;”>“พฤติกรรมคนออนไลน์ใน 1 วัน”

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px;”>

เช้า-เริ่มวันใหม่

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>66%

อาหารเช้าที่บ้าน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”> 24%

ดูทีวี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px;”>

เวลาตี 5.31-9 โมงเช้า

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>34%

เดินทางไปเรียน หรือทำงาน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>13%

เข้าสู่โลกดิจิตอล

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px;”> 

9 โมง-เที่ยง

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”> 42%

ก็เริ่มทำงานหรือเรียน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>35%

เข้าสู่โลดิจิตอล

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px;”>

กลางวัน-เที่ยงถึง 4 โมงเย็น

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>40%

ทำงานหรือเรียน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>25%

ทานขนมขบเคี้ยวด้วย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>54%

เข้าสู่โลดิจิตอล

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px;”>

ตั้งแต่ 4โมงเย็นถึง 1 ทุ่ม

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>46%

ดูทีวี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>41%

ทานข้าวที่บ้าน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>38%

พบปะครอบครัวหรือเพื่อนๆ

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>62%

เข้าสู่โลดิจิตอล 

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px;”>

เย็น-ตั้งแต่ 1 ทุ่มถึง 4 ทุ่ม

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>67%

ดูทีวี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>93%

เข้าสู่โลดิจิตอล

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>30%

ใช้เวลากับเพื่อน หรือครอบครัว

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>28%

ดินเนอร์ที่บ้าน

style=”vertical-align: top; height: 10px;”>

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; width: 177px; height: 101px;”>

ก่อนนอน-หลัง 4 ทุ่มถึงเที่ยงคืน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>77%

นอน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>36%

ดูทีวี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center; height: 101px;”>48%

เข้าสู่โลดิจิตอล

style=”vertical-align: top; width: 177px;”>ที่มา : ช่วงเวลา 1
วันทำงานของกลุ่มคนวัย 14-30 ปี

(จากการศึกษา 3D ของ Mindshare เอเยนซี่)