Tag: CMMU
เจาะลึก LAZY Marketing การตลาดจับกลุ่มคนขี้เกียจ สำหรับคนที่ชอบใช้เงินแก้ปัญหา
เชื่อหรือไม่ว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่กดสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชันเดลิเวอรี่ ทั้งที่ร้านอยู่ใกล้แค่ใต้คอนโด สั่งซื้อของจากร้านสะดวกซื้อทั้งที่ร้านอยู่แค่ฝั่งตรงข้าม หรือยอมจ่ายเงินจ้างคนไปต่อคิวเพื่อซื้อของ ทำธุระ หรือแม้แต่เล่นเกมแทน นี่เป็นเพียงตัวอย่างบางส่วนของ “พฤติกรรมขี้เกียจ" ที่สะท้อนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคในปัจจุบันที่ต้องการความสะดวกสบาย แม้กระทั่งกิจกรรมง่ายๆ หรือใช้เวลาไม่มาก
5 Do – 2 Don’t ในการเลือก “อินฟลูเอนเซอร์” โปรโมตแบรนด์/สินค้า
มูลค่าตลาดการโฆษณาโดยใช้อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer Marketing) เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วโลก ในรอบ 7 ปีที่ผ่านมา (2016-2023) มีการเติบโตเฉลี่ยปีละ 66.34%
วิจัย CMMU จับอินไซต์ความสนใจ “สุขภาพ-สิ่งแวดล้อม” ของผู้บริโภค สร้างกลยุทธ์การตลาด
วิจัย ป.โท CMMU ในหัวข้อ “What If Marketing การตลาดสามมิติสู่การเปลี่ยนแปลง” เสนออินไซต์ผู้บริโภคที่ใส่ใจ “สุขภาพกาย” “สุขภาพจิต” และ “ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม” มากขึ้น เป็นจุดสำคัญให้แบรนด์สร้างกลยุทธ์ เปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคไปพร้อมกับการสร้างสรรค์การตลาด
ชำแหละ ‘3 คลัสเตอร์’ ชาว ‘Gen We’ ยุคที่ไม่ได้แบ่งกลุ่มเป้าหมายจาก ‘อายุ’ อีกต่อไป
ในยุค COVID-19 ที่ทำให้การใช้ชีวิตประจำวันของเรา ๆ เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงหรือที่เรียกว่า ‘New Normal’ ซึ่งวิกฤตดังกล่าวก็ยิ่งสร้างผลกระทบต่อภาคธุรกิจเป็นวงกว้างทั้งปัญหาสังคมในด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิทธิมนุษยชน อีกทั้งยังส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอการใช้จ่าย ดังนั้น สาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) จึงได้สัมมนาการตลาด “WEvolution: ปฏิบัติการถอดรหัสผู้บริโภคยุค 5.0” เพื่อเป็นแนวทางให้แบรนด์และนักการตลาดรับมือกับพฤติกรรมของผู้บริโภคในยุคโควิดนี้
5 ธุรกิจมาแรง! เกาะกระแส Lazy Economy โกยเงินลูกค้า “มนุษย์รักสบาย”
เมื่อเทคโนโลยีเข้ามาอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล พฤติกรรมผู้บริโภคจึงเป็น “มนุษย์รักสบาย” หรืออีกนัยกลายเป็น “คนขี้เกียจ” ที่ต้องอดทนรอหรือทำสิ่งต่างๆ ที่เทคโนโลยีช่วยประหยัดเวลา ทำให้เกิด Lazy Economy (เศรษฐกิจคนขี้เกียจ) ที่ตอบโจทย์คนรักสบายโกยเงินเข้ากระเป๋ามากขึ้น
ถอดรหัสสร้าง “แบรนด์ไทย” ให้ปัง! พลิกจาก “โอทอป” ก้าวสู่สินค้าระดับประเทศ-โกอินเตอร์
ปัจจุบันสินค้าแบรนด์ท้องถิ่นและแบรนด์ไทยหลายแบรนด์เป็นที่ยอมรับในตลาดโลก สร้างยอดขายเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ข้อมูลจากกรมพัฒนาชุมชนพบว่าสินค้าโอทอป ที่เริ่มต้นในปี 2544 ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเต็มที่ ปี 2561 มียอดจำหน่าย 1.9 แสนล้านบาทซึ่งเพิ่มขึ้นทุกปี แต่คิดเป็นสัดส่วนเพียง 1.2% ของจีดีพีประเทศเท่านั้น จึงต้องมาถอดรหัสสร้าง “แบรนด์ไทย” กันว่าหากต้องการประสบความสำเร็จให้มากกว่านี้ ต้องใช้กลยุทธ์ใด