อาชีพและงานในฝันคนไทย

ทุกคนล้วนมีความฝัน และการแสวงหางานในฝันก็เป็นหนึ่งในฝันที่ทุกคนต้องการให้เป็นจริง อเด็คโก้ (Adecco) ประเทศไทย ทำการสำรวจความคิดเห็นของคนทำงานในประเทศไทย เกี่ยวกับลักษณะบริษัทในฝัน ที่สามารถทำให้เกิดงานที่มีประสิทธิภาพสูงและทำงานอย่างมีความสุข จากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 2,209คน  มีข้อมูลที่น่าสนใจดังต่อไปนี้ 

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”font-weight: bold;”>ใครเป็นใครกับงานในฝัน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>58%  
เพศหญิง

42%  เพศชาย

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>53%

จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>41%

จบการศึกษาในระดับปริญญาโท

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>33%

อายุเฉลี่ยอยู่ในระหว่าง 25-30 ปี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>24%

มีอายุระหว่าง 30-35 ปี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>36%

มีประสบการณ์ทำงาน 10 ขึ้นไป

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>25%

มีประสบการณ์ทำงาน 0-3 ปี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>38%

ได้เงินเดือน 10,000–30,000
บาทต่อเดือน

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>26%

ได้เงินเดือน 30,000-50,000
บาทต่อเดือน

เบื้องลึกพฤติกรรมคนทำงาน-คนหางาน

อเด็คโก้มองว่าปี 2554 เป็นปีที่ตลาดแรงงานมีความตื่นตัวมากในประเทศไทย  เกิดตำแหน่งงานใหม่ พร้อมการจ้างงานในตำแหน่งต่างๆ เพิ่มมากขึ้น สำหรับในปี 2555 ฝ่ายทรัพยากรบุคคลขององค์กรต่างๆ ยังคงมุ่งมั่นในการมองหา “คนที่ใช่” ให้กับองค์กร และในทางตรงกันข้ามทางผู้สมัครก็มองหางานที่ตอบโจทย์ความต้องการในการทำงานเช่นกัน  

cellspacing=”2″>

ระยะเวลาในการทำงานกับบริษัทหนึ่ง 38% (<5 ปี) ช่วงเวลาที่ทำงานได้ประสิทธิภาพสูงสุด 60% (9-11 ปี) ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสุขในการทำงานมากที่สุด 48% (บรรยากาศในการทำงาน) ปัจจัยที่ทำให้เกิดงานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด 37% (ผลตอบแทนสูง
ลักษณะงานน่าสนใจ) ลักษณะบรรยากาศในการทำงานที่ต้องการ 45% (มีอิสระในการทำงาน) เงินเดือนที่ต้องการให้เพิ่มขึ้นเมื่อเปลี่ยนงาน 43% (มากกว่าหรือเท่ากับ 20%) อายุมากที่สุดที่จะไม่คิดเปลี่ยนงาน 59% 35-40 ปี สิ่งสำคัญที่สุดที่ทำให้ตกลงรับทำงาน 35% ลักษณะงานที่น่าสนใจ ลักษณะของบริษัทที่อยากไปทำงานด้วยมากที่สุด 70% บริษัทข้ามชาติ ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการเลือกสมัครงานกับบริษัทหนึ่งๆ 43% (ชื่อเสียงขององค์กร)

จากตารางสามารถอธิบายเพิ่มเติมบางส่วนได้ดังนี้

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”vertical-align: top; text-align: center;”> style=”font-weight: bold;”>สูงสุด 5 ปี ก็พอแล้ว

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>38%

เห็นว่าระยะเวลาทำงานโดยเฉลี่ยในการทำงานกับบริษัทหนึ่งๆ
ไม่เกิน 5 ปี เป็นระยะเวลาสูงที่สุด

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>34%

มากกว่า 5 ปี

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>1%

ให้ความเห็นว่าทำงานโดยเฉลี่ยเป็นเวลานาน
1 ปี ทั้งนี้ระยะเวลาในการทำงานกับบริษัทหนึ่งๆ 
ขึ้นอยู่กับเนื้องานและผลตอบแทนด้วย และโดยเฉลี่ยจะใช้ระยะเวลา 3 ปี
ในการทำงานกับบริษัทหนึ่งๆ

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”vertical-align: top; text-align: center;”>พลังไอเดียพลุ่งพล่านสุดๆ
ต้องช่วงเช้า

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>60%

ช่วงเช้า (9.00-11.00 น.)

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>18%

ช่วงบ่าย (14.00-16.00 น.)

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>9%

ช่วงกลางวัน (11.00-14.00 น.),
และช่วงเย็น (16.00-18.00 น.) จะเห็นได้ว่าข้อมูลนี้เป็นประโยชน์แก่นายจ้างในการนัดประชุมหรือการระดมความคิดจากพนักงาน
เพราะช่วงเช้าเป็นช่วงเวลาที่คนทำงานส่วนใหญ่สามารถสร้างสรรค์ผลงานได้ดีที่สุด
ขณะที่ช่วงเย็นพลังชีวิตลดน้อยเต็มที
และคนส่วนใหญ่นึกถึงนัดหมายกับเพื่อนฝูงและการกลับบ้านไปพักผ่อนกับครอบครัว

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”vertical-align: top; font-weight: bold;”>บรรยากาศที่ดีคือความสุขในการทำงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>48%

บรรยากาศในการทำงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>35%

เพื่อนร่วมงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>น้อยกว่า3%

หัวหน้างาน และวัฒนธรรม/นโยบาย
องค์กร

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

อะไรที่ทำให้ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพที่สุด

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>37%

ลักษณะงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>33%

เพื่อนร่วมงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>7%

ผลตอบแทน แสดงให้เห็นว่าปัจจัยเรื่องผลตอบแทน
ไม่ได้เป็นเป้าหมายหลักที่คนมองว่าจะช่วยทำให้สามารถทำงานได้ดี

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”font-weight: bold;”>คนรุ่นใหม่ไม่ต้องการกรอบ

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>45%

ต้องการอิสระในการทำงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>40%

ต้องการความเป็นกันเอง
และความร่วมมือกันในการทำงาน ประเด็นนี้สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการที่เปลี่ยนไปและความคาดหวังของกลุ่มคน
Gen Y ในที่ทำงาน ที่ไม่ต้องการพิธีรีตองหรือความเคร่งเครียดในที่ทำงาน

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

อายุไม่ใช่อุปสรรคในการหางานในฝัน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>59%

เชื่อว่าช่วงอายุ 35-40 ปี
เป็นช่วงอายุสูงที่สุดที่ยังสามารถเปลี่ยนงาน

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>5%

เห็นว่าถึงแม้จะมีอายุมากกว่า 50
ปี ก็ยังสามารถเปลี่ยนงานได้เช่นกัน ดังนั้นช่วงอายุเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเปลี่ยนงาน
แต่หลายคนไม่ได้มองว่าเป็นอุปสรรคแต่อย่างใด  

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

style=”font-weight: bold;”>ใช่ หรือ ไม่ใช่ ดูจากอะไร

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>35%

ได้รับผลตอบแทนสูง

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>34%

ลักษณะงานน่าสนใจ

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>6%

บริษัทอยู่ใกล้บ้าน ผลวิจัยนี้ยังพบว่ากลุ่มคนอายุมากกว่า40
ปีขึ้นไป จะพิจารณาตอบรับเข้าทำงานจากลักษณะงานที่น่าสนใจเป็นหลัก
ในขณะที่กลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า40 ปี จะพิจารณาจากผลตอบแทนเป็นหลัก

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

บริษัทข้ามชาติมาแรง

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>70%

อยากทำงานบริษัทข้ามชาติ

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>14%

อยากทำงานบริษัทคนไทยขนาดใหญ่

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>12%

อยากทำรัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้ยังมีลักษณะของบริษัทที่อยากทำงานด้วยอื่นๆ
คือ เป็นบริษัทที่มีความมั่นคงและบริษัทที่มีการบริหารที่เป็นมาตรฐานสากล

cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>

ส่วนใหญ่สนใจบริษัทดัง

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>43%

ให้ความสำคัญกับชื่อเสียงขององค์กร
ในการเลือกสมัครงานมากที่สุด

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>30%

วัฒนธรรมองค์กร 

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>13%

ขนาดบริษัท โดยมีเหตุผลอื่นๆ
ที่ส่งผลต่อการเลือกสมัครงาน คือ ความมั่นคงของบริษัทและผลตอบแทน/สวัสดิการ

cellspacing=”2″>

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>Min

style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>Max

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Min

style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>Max Accounting 10,000 80,000 Information
Technology – Business 18,000 60,000 Admin/
Secretarial 10,000 60,000 Legal/Compliance 10,000 50,000 Customer
Service 10,000 60,000 Logistics 18,000 30,000 Engnineering 15,000 60,000 Marketing / PR 10,000 80,000 Engnineering
– Business 15,000 60,000 Medical &
Science 15,000 25,000 Finance 13,000 45,000 Sales 10,000 80,000 Human Resource 12,000 45,000 Supply Chain 15,000 60,000 Information
Technology 10,000 100,000 Technical /
Manufacturing 12,000 40,000

ด้านผลสำรวจเงินเดือนพบว่า ในระดับจูเนียร์ (ประสบการณ์ 0-5 ปี) ผลสำรวจพบว่าอาชีพที่มีเงินเดือนสูงสุดคือด้าน  IT มีเงินเดือน10,000-100,000 ส่วนอาชีพที่มีเงินเดือนต่ำสุด คือ ด้าน Medical&Science มีเงินเดือน 15,000-20,000 บาท 

ขณะที่ในระดับซีเนียร์ (ประสบการณ์ตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป) ตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงมีเงินเดือน 70,000-600,000 บาท อาชีพที่มีเงินเดือนสูงสุดคือ วิศวกร มีเงินเดือน 15,000-300,000 บาท 

ทั้งนี้ ภาพรวมตลาดแรงงานเติบโตอย่างน้อย 20% พบว่าสายงานขาย วิศวกร ไอที ยังครองแชมป์หาคนมากที่สุด ส่วนตำแหน่งรองมาจะอยู่ในกลุ่มสายงานบัญชี การเงิน บุคคล และการตลาด ส่วนกลุ่มธุรกิจที่มองหาคนมากที่สุด คือ กลุ่มเทรดดิ้ง กลุ่มอุตสาหกรรม กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มงานบริการ และกลุ่มพลังงาน เป็นต้น