Consumer Vibes ประจำเดือนมีนาคม 2012 เกิดจากความร่วมมือระหว่าง Mindshare มีเดียแพลนเนอร์ และMillward Brown บริษัทวิจัยในเครือ โดยเริงฤทธิ์ จินดาพร Director, Business Planning Mindshare และ อุษณาจันทร์กล่ำ Group Accout Director Millward Brown เป็นตัวแทนเปิดเผยถึงผลสำรวจกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคชาวไทยจำนวน 300 คน ใน 3 จังหวัด คือ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ และขอนแก่น จังหวัดละ 100 ตัวอย่าง โดยรอบนี้ได้เปลี่ยนจากวิธีสัมภาษณ์แบบ Face to Face สำรวจผ่านทาง Internet เพื่อดูว่าคนไทยรับรู้และจดจำสินค้าของกลุ่มตัวอย่าง 300 ตัวอย่าง นึกถึงโฆษณาของสินค้าใดมากที่สุด ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา (เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2012) ไม่ว่าจากโทรทัศน์ นิตยสาร วิทยุ Internet
หรือสื่ออื่นใด และให้ผู้ตอบ ตอบชื่อสินค้าอย่างน้อย 3 แบรนด์ที่พวกเขาจดจำโฆษณาได้ (โดยไม่มีตัวช่วยจำ)
นอกจากนี้ ยังได้สำรวจงบโฆษณาแต่ละแบรนด์ใช้ไปในช่วง 2 เดือน คือ มกราคมและกุมภาพันธ์ปี 2012 โดยใช้ข้อมูลงบโฆษณาของแบรนด์สินค้าของ Nielsen มาประกอบ เพื่อดูว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้จดจำแบรนด์กับงบโฆษณาที่ใช้ไปหรือไม่ จากการสำรวจยังพบว่า ความคิดสร้างสรรค์ในโฆษณามีผลและมีบทบาทสำคัญในการทำให้ผู้บริโภครู้จักและจดจำโฆษณาได้
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
(ไม่จำกัดหมวดสินค้า)
style=”vertical-align: top; text-align: center;”> style=”font-weight: bold;”>แบรนด์
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>%
ผู้ตอบที่จำโฆษณา
(ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>%
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
์นั้นได้มากที่สุด
Mobile Phone&Tab
Insurance
เป็นที่น่าสังเกตว่า โฆษณาที่ผู้บริโภคจดจำได้มากที่สุด (ไม่มีตัวช่วย) คือโทรศัพท์มือถือและรถยนต์ ซึ่งอาจบ่งชี้ว่า ผู้บริโภคในไทยกำลังให้ความสนใจสินค้า 2 ประเภทนี้เป็นพิเศษ จากการแข่งขันสูงในตลาดสมาร์ทโฟนกับแท็บเล็ต ผู้บริโภคสามารถรับรู้ได้ว่า มี 3 แบรนด์ (Samsung, Nokia และ iPhone) ที่มีกิจกรรมและมีความเคลื่อนไหวสูงในช่วงเดือน ม.ค.-ก.พ. ปีนี้
จุดที่น่าสนใจคือผู้บริโภคจดจำโฆษณาของไทยประกันชีวิตและ Toyota ทั้งในแง่ของโฆษณาสินค้าและเนื้อหาของโฆษณา โดยเฉพาะอย่างยิ่งโฆษณาของไทยประกันชีวิตถูกนำไปโพสต์ต่อในเว็บ Social Media อย่าง Youtube,Facebook มาตั้งแต่ปีที่แล้ว และต่อเนื่องมาจนถึงปีนี้ด้วย โฆษณา “ประกันพ่อแก้ว แม่แก้ว” ของไทยประกันฯในปีนี้ก็ได้รับผลดีจากโฆษณาของไทยประกันฯ เมื่อปีกลายด้วย
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
(Personal Care)
style=”vertical-align: top; font-weight: bold;”>แบรนด์
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>%
ผู้ตอบที่จำโฆษณา
(ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”> %
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
นั้นได้มากที่สุด
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>งบใช้สื่อ
(000 บาท)
Nivea เป็นแบรนด์ที่ผู้บริโภคจดจำสูงกว่าแบรนด์อื่นอย่างเห็นได้ชัดสัมพันธ์กับงบโฆษณาที่ Nivea ใช้ไปมากเมื่อเทียบกับแบรนด์คู่แข่งอื่นๆในสินค้าประเภท Personal Care นอกจากนี้ยังเป็นเพราะชื่อแบรนด์ Nivea ถูกใช้กับผลิตภัณฑ์ทุกประเภทในกลุ่มนี้ ทั้งโลชั่นทาหน้า ทาตัวหรือผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกาย จึงน่าจะเป็นสาเหตุที่ทำให้โฆษณาของ Nivea เป็นที่จดจำได้สูงสุด
Sunsilk, Vaseline และ Lux เป็นที่จดจำของผู้บริโภคในระดับสูง
และสัมพันธ์กับงบโฆษณาที่ใช้ไปในระดับสูงเช่นกัน แต่แบรนด์อื่นๆ อย่าง style=”font-weight: bold;”>Pond’s, Garnier และ Pantene
ซึ่งมีการใช้งบโฆษณาที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับคู่แข่งโดยตรงอย่างเช่น style=”font-weight: bold;”>Olay และ style=”font-weight: bold;”>Sunsilk แต่กลับเป็นที่จดจำได้น้อยกว่า
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
(Household)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>แบรนด์
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”> %
ผู้ตอบที่จำโฆษณา
(ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>%
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
นั้นได้มากที่สุด
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>งบใช้สื่อ
(000 บาท)
Breeze เป็นโฆษณาที่ผู้บริโภคจดจำได้สูงสุด
โดยมี % สูงกว่าแบรนด์อื่นอย่างเห็นได้ชัด
และสะท้อนการใช้งบโฆษณาสูงสุดของ Breeze ด้วย ส่วน style=”font-weight: bold;”>Omo, Pao และ Attack
เป็นที่จดจำเป็นอันดับ 4, 6 และ 8
style=”font-weight: bold;”>
Duck VS Vixol ในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดห้องน้ำ
ผู้บริโภคจดจำ Duck ได้สูงสุด แต่ Vixol กลับเป็นที่จดจำน้อยกว่า ทั้งๆ
ที่ทั้ง 2 แบรนด์นี้ใช้งบโฆษณาพอๆ กัน ส่วนโฆษณาของ style=”font-weight: bold;”>Mr. Muscle เป็นที่จดจำได้ค่อนข้างต่ำ
ทั้งๆ ที่ลงทุนทุ่มงบโฆษณาสูง
Sunlight และ Lipon F
เป็นที่จดจำโดยสัมพันธ์กับงบโฆษณาที่ใช้ไป
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
(หมวด Automobile)
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>แบรนด์
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>%
ผู้ตอบที่จำโฆษณา
(ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>%
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
นั้นได้มากที่สุด
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>งบใช้สื่อ
(000 บาท)
Toyota และ Honda ซึ่งเป็นแบรนด์ยักษ์ใหญ่ในตลาดรถยนต์ที่ผู้บริโภคจดจำได้มากที่สุด แต่ที่น่าสังเกต แม้ว่า Honda จะหยุดโฆษณาในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา (ม.ค.-ก.พ.2012) แต่ผู้บริโภคกลับยังคงรับรู้เกี่ยวกับแบรนด์ Honda ตลอดเวลา น่าเป็นเพราะ Honda ตกเป็นข่าวในหน้าสื่ออยู่ตลอดเวลา เพราะผลกระทบหนักจากน้ำท่วมใหญ่ในไทยเมื่อปีที่แล้ว และข่าวในการบริจาคช่วยเหลือสังคมของฮอนด้า
Isuzu ทุ่มงบโฆษณาสูงมากในช่วง
2 เดือน (ม.ค.-ก.พ.) แต่กลับสร้างความจดจำได้เป็นอันดับ 3 ในขณะที่ style=”font-weight: bold;”>Chevrolet ได้อันดับ 5
สร้างความจดจำได้ดี พอเหมาะกับงบโฆษณาที่ทุ่มไปเกือบ 150
ล้านบาทในช่วงเวลา 2 เดือน
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
(Food & Beverage)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>แบรนด์
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>%
ผู้ตอบที่จำโฆษณา
(ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>%
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
นั้นได้มากที่สุด
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>งบใช้สื่อ
(000 บาท)
Beer
Lay’s ยังคงเป็นสินค้าที่ผู้บริโภคจดจำโฆษณาได้สูงที่สุดในสินค้าหมวดอาหารและเครื่องดื่ม อาจเป็นโฆษณาที่ใช้ดาราระดับซุป’ตาร์ที่อยู่ในกระแสอย่าง ณเดชน์ คูกิมิยะและ ญาญ่า ถูกยิงออกมาถี่ยิบ ทำให้เกิดการรับรู้ในวงกว้างสูง
Coke, Dutchmill และ Oishi ต่างทุ่มงบโฆษณาสูงกว่าแบรนด์อื่นๆ ในสินค้าหมวดเดียวกัน
โออิชิ VS อิชิตัน โออิชินั้นสร้างการรับรู้ใกล้เคียงกับอิชิตันแต่ใช้งบโฆษณาสูงกว่า ส่วนหนึ่งเพราะการสร้างแบรนด์ผ่านโซเชี่ยลมีเดียและการใช้กลยุทธ์พีอาร์ของอิชิตัน ผ่าน Personal Brand ผู้เป็นเจ้าของคือ ตัน ภาสกรนที ที่มีการตอกย้ำแบรนด์อยู่เสมอ
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
(Finance & Insurance)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>แบรนด์
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>%
ผู้ตอบที่จำโฆษณา
(ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>%
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
นั้นได้มากที่สุด
style=”vertical-align: top; text-align: center; font-weight: bold;”>งบใช้สื่อ
(000 บาท)
โฆษณาที่ผู้บริโภคจดจำได้ ในหมวดสถาบันการเงินและบริษัทประกันนี้ มักสัมพันธ์กับงบโฆษณาที่แบรนด์ดังกล่าวใช้ไปอย่างเห็นได้ชัด ยกเว้น TMB ที่ทุ่มงบโฆษณาสร้างแบรนด์และเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ในช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ นั่นคือ “ME Electronic Banking” ที่ให้ลูกค้าบริการตัวเองผ่านระบบออนไลน์ และ “โครงการคืนพลังซัพพลายเชน” (TMB Supply Chain Revitalizing Program) แต่กลับเป็นที่จดจำได้เป็นอันดับ 4
ส่วน SCB
ยังคงเป็นผู้นำในตลาดสถาบันการเงินเช่นเดิม
โดยทุ่มงบโฆษณาสูงสุดและสามารถเป็นที่จดจำของผู้บริโภคได้สูงสุด
โฆษณาแฝงที่คนจำได้มากที่สุด
เป็นคำถามที่ Mindshare และMillward Brown ทำขึ้น
รองรับกับการที่หลายแบรนด์หันมาเลือกใช้ โฆษณาแผง ในรูปบของการ Tie-in,
Product Placement) ในละครหรือรายการต่างๆ
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>%
ผู้ตอบที่จำโฆษณา (ไม่ต้องมีตัวช่วย)
style=”vertical-align: top; font-weight: bold; text-align: center;”>%
ผู้ที่จำโฆษณาแบรนด์
นั้นได้มากที่สุด
Insurance
การเป็นสปอนเซอร์ในรายการทีวีจำนวนมาก ทำให้ Coke สร้างการรับรู้ได้มาก
เช่นเดียวกับไทยประกัน ส่วนToyota มาจากการ Tie-in ในละครเกือบทุกเรื่อง
และ Nescafe สร้างการรับรู้จากการ Tie-inผ่านรายการข่าวช่วงเช้า
ทั้ง เริงฤทธิ์ และ อุษณา ต่างก็ตั้งข้อสังเกตว่า
นอกจากการใช้งบในสื่อดั้งเดิมแล้ว การใช้สื่อออนไลน์
และเนื้อหาที่แบรนด์ใช้สื่อสารกับผู้บริโภคล้วนแต่มีส่วนสำคัญต่อการสร้างการรับรู้ของแบรนด์ที่มีต่อผู้บริโภคในยุคนี้
คนไทยมองอนาคตตัวเองอย่างไรในปี
2012
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>
cellpadding=”2″ cellspacing=”2″>