Thursday, October 31, 2024
Home Tags เมียนมา

Tag: เมียนมา

รัฐบาล “เมียนมา” กวาดจับพ่อค้าแลกเงิน-เอเยนต์ขายคอนโดฯ ในไทย สกัดไม่ให้ “เงินจ๊าต” อ่อนค่าลงอีก

รัฐบาลเผด็จการ “เมียนมา” กวาดล้างกลุ่มพ่อค้าแลกเงิน-ซื้อขายทองในตลาดมืด และกลุ่มเอเยนต์ขายคอนโดฯ ในประเทศไทย เป็นความเคลื่อนไหวรอบล่าสุดเพื่อสกัดไม่ให้ “เงินจ๊าต” อ่อนค่าลงอีก

เจาะขุมทรัพย์กำลังซื้อ “แรงงานเมียนมา” 6.8 ล้านคนในไทย ช่องว่างที่รอแบรนด์ทำการตลาด

MI GROUP วิจัยกำลังซื้อ “แรงงานเมียนมา” อาศัยอยู่ในไทยถึง 6.8 ล้านคน คิดเป็น 10% ของประชากรไทย แต่ยังมีแบรนด์ไทยจำนวนน้อยมากที่ทำการตลาดเจาะกลุ่มนี้โดยตรง ธุรกิจที่แข่งขันเพื่อคว้าตลาดกลุ่มนี้แล้วมีเพียง 2 กลุ่ม คือ “โทรคมนาคม” กับ “ธนาคาร” โอกาสที่เห็นชัดเพื่อเจาะตลาดแรงงานเมียนมาคือธุรกิจ “ทองคำ” เพราะคนเมียนมาส่วนใหญ่นิยมซื้อไว้เป็นสินทรัพย์ ชี้เป้าทำการตลาดด้วยการทลายกำแพง “ภาษา” และเข้าถึงผ่านช่องทางออนไลน์ เพราะแรงงานเมียนมาเกือบทุกคนใช้ Facebook

หย่าไม่ได้ ขอไปเอง! “Kirin” ถอนการลงทุนใน “เมียนมา” หลังเจรจาเผด็จการไม่คืบ

บริษัทเครื่องดื่มญี่ปุ่น Kirin Holdings เตรียมถอนการลงทุนใน “เมียนมา” หลังจากบริษัทสรุปได้ว่า “ไม่มีความหวัง” ในการเจรจาเพื่อคลี่คลายปัญหากับหุ้นส่วนธุรกิจซึ่งมีกองทัพเป็นเจ้าของ การตัดสินใจของบริษัทเกิดขึ้นหลังผ่านไปกว่า 1 ปีที่กลุ่มเผด็จการเข้ายึดการปกครอง

ลาแล้ว 1! “เทเลนอร์” ขายกิจการในเมียนมาให้ M1 Group มูลค่า 105 ล้านเหรียญ

เทเลนอร์ (Telenor) ผู้ให้บริการโทรคมนาคมสัญชาตินอร์เวย์ได้ขายกิจการในพม่าให้บริษัท M1 Group กลุ่มนักลงทุนจากเลบานอนในมูลค่า 105 ล้านดอลลาร์ หลังจากที่ประเทศที่ตกอยู่ในความโกลาหลวุ่นวายนับตั้งแต่การรัฐประหารในเดือน ก.พ.

[ข่าวลือ] “เทเลนอร์” เล็งขายธุรกิจในพม่า หั่นฐานลูกค้า 18 ล้านคน เหตุความไม่มั่นคงในประเทศ

สื่อต่างประเทศรายงาน “เทเลนอร์" (Telenor) ผู้ให้บริการโทรคมนาคมสัญชาตินอร์เวย์ กำลังเตรียมขายหน่วยธุรกิจในพม่า เป็นการตัดสินใจบอกลาฐานลูกค้ากว่า 18 ล้านคนเพราะปัญหาความไม่มั่นคงในพื้นที่

สหรัฐฯ คว่ำบาตรลูกๆ “มิน อ่อง หล่าย” 2 คน พร้อมอีก 6 บริษัทเมียนมา

สหรัฐฯ คว่ำบาตรบุตร 2 คนของ พล.อ.อาวุโส มิน อ่อง หล่าย ผู้นำรัฐบาลทหารพม่า รวมถึง 6 บริษัทที่บุคคลทั้งสองเป็นผู้บริหารกิจการเมื่อวันที่ 10 มี.ค. เพื่อตอบโต้การทำรัฐประหาร และการใช้ความรุนแรงปราบปรามผู้ประท้วงในพม่า

‘เเบงก์ชาติสิงคโปร์’ สั่งธนาคาร จับตาธุรกรรมน่าสงสัยกับ ‘เมียนมา’ หวั่นก่ออาชญากรรมการเงิน

ธนาคารกลางสิงคโปร์ เเจ้งสถาบันการเงินภายในประเทศ จับตาธุรกรรมที่ ‘น่าสงสัย’ ระหว่างสิงคโปร์กับเมียนมา ทั้งการโอนเงินหรือเงินหมุนเวียนของกองทุน เนื่องจากมีความกังวลเกี่ยวกับ ‘อาชญากรรมทางการเงิน’ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้ หลังการทำรัฐประหารในเมียนมา ธนาคารกลางสิงคโปร์ (MAS) ได้ส่งหนังสือเวียน เเจ้งเตือนไปยังผู้เหล่าผู้บริหารของสถาบันการเงินทุกเเห่งในประเทศ ให้ตรวจสอบสถานะกิจการ ประเมินทรัพย์สินของบริษัท (Due Diligence) ของลูกค้ารายสำคัญด้วยความระมัดระวัง และใช้มาตรการลดความเสี่ยงที่เหมาะสมสำหรับสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง  ความเคลื่อนไหวดังกล่าว เกิดขึ้นท่ามกลางการเดินขบวนประท้วงเพื่อประชาธิปไตยในเมียนมา หลังกองทัพประกาศเข้ายึดอำนาจ MAS มองว่า สถานการณ์ความรุนแรงในเมียนมา มีความเสี่ยงที่จะนำไปสู่การฟอกเงิน การระดมเงินทุนเพื่อการก่อการร้าย หรืออาจก่ออาชญากรรมทางการเงินประเภทอื่นๆ...

Kirin เบียร์ยักษ์ใหญ่ญี่ปุ่น ประกาศ “ตัดสัมพันธ์” หุ้นส่วนในเมียนมาตอบโต้ “รัฐประหาร”

คิริน (Kirin) ผู้ผลิตเครื่องดื่มรายใหญ่จากแดนปลาดิบ ประกาศยุติการทำธุรกิจแบบร่วมค้า (Joint Venture) กับบริษัทหุ้นส่วนในพม่า ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกองทัพ หลังเกิดการรัฐประหารยึดอำนาจเมื่อวันที่ 1 ก.พ.

รัฐประหารเมียนมา : เช็ก 7 ข้อผลกระทบต่อ “เศรษฐกิจ” และ “การลงทุน” จากต่างประเทศ

หลังเกิดรัฐประหารครั้งล่าสุดในเมียนมาเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2564 ผลกระทบทางเศรษฐกิจเมียนมาและธุรกิจจากต่างประเทศ ทั้งโดยฉับพลันและแนวโน้มระยะยาวเป็นอย่างไรบ้าง เรารวบรวมมาไว้ที่นี่

ญี่ปุ่น เตือน ‘รัฐประหารเมียนมา’ อาจเป็นการเพิ่ม ‘อิทธิพลจีน’ ในอาเซียน

กลาโหมญี่ปุ่น เตือนการตอบสนองต่อ ‘รัฐประหารเมียนมา’ ต้องระมัดระวัง ไม่เช่นนั้นจะเป็นการเพิ่มอิทธิพลของจีนในอาเซียน โดยรัฐบาลโตเกียวกำลังจับตาความเคลื่อนไหวในเมียนมาอย่างใกล้ชิด Yasuhide Nakayama รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของญี่ปุ่น ให้ความเห็นกับ Reuters ว่า ท่าทีของประเทศประชาธิปไตยเสี่ยงที่จะผลักให้เมียนมาตกไปอยู่ภายใต้อิทธิพลของจีน หากตอบสนองการทำรัฐประหาร จนกระทบต่อช่องทางสื่อสารกับเหล่านายพลผู้ทรงอิทธิพล "หากเราไม่จัดการเรื่องนี้ให้ดี เมียนมาจะยิ่งห่างเหินกับชาติประชาธิปไตยไปมากกว่าเดิม และจะหันไปเข้าร่วมกับจีนแทน” พร้อมเสริมว่า ญี่ปุ่นควรหารือยุทธศาสตร์นี้ร่วมกันกับชาติพันธมิตร กองทัพเมียนมา เข้ายึดอำนาจเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา (1 ก.พ.) พร้อมประกาศภาวะฉุกเฉินทั่วประเทศเป็นเวลา 1 ปี...