Tag: พฤติกรรมผู้บริโภค
NIQ เจาะลึกพฤติกรรมนักช้อป “Gen Z” คนรุ่นใหม่จะซื้ออะไรทีต้อง “หาข้อมูล” ก่อนเสมอ
NIQ เจาะพฤติกรรมผู้บริโภค “Gen Z” เจนเนอเรชันที่กำลังจะเป็นผู้มีกำลังซื้อหลักของโลกในอีก 7 ปีข้างหน้า สิ่งที่โดดเด่นของคนรุ่นนี้ คือ ต้องการ “หาข้อมูล” สินค้าก่อนตัดสินใจซื้อเสมอ และเปลี่ยนใจจากแบรนด์ง่าย พร้อมเปิดรับลองแบรนด์ใหม่ๆ
รู้จักทฤษฎี “Lipstick Effect” เมื่อเศรษฐกิจตกต่ำ แต่ทำไมลิปสติกที่เป็น “ของฟุ่มเฟือย” กลับขายดี!?
ในช่วงเศรษฐกิจตกต่ำแต่ “ลิปสติก” กลับขายดีทั้งที่ไม่ใช่สิ่งของจำเป็น ปรากฏการณ์ผู้บริโภคแบบนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ “Lipstick Effect” ทฤษฎีทางจิตวิทยาที่เจ้าของแบรนด์กลุ่มสินค้าฟุ่มเฟือยสามารถนำไปปรับใช้ได้
“Lipstick Effect” ถูกนำเสนอและพูดถึงครั้งแรกโดยศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์ “Juliet Schor” เมื่อปี 1998 เธอพบจากการสังเกตพฤติกรรมผู้บริโภคว่า เมื่อเศรษฐกิจตกสะเก็ดและต้องรัดเข็มขัด ผู้หญิงจะตัดงบซื้อคลีนเซอร์และสกินแคร์ไปใช้ยี่ห้อธรรมดาแทน และนำเงินส่วนต่างมาละลายกับการซื้อ “ลิปสติก” แบรนด์หรูที่พวกเธอมีโอกาสจะได้หยิบมาใช้ในที่สาธารณะ
ทฤษฎีนี้มาโด่งดังยิ่งขึ้นเมื่อ “Leonard Lauder” ประธานกรรมการของยักษ์เครื่องสำอาง “Estée Lauder”...
ผลสำรวจจาก UBS เผยชาวไทย 71% มองเศรษฐกิจในปี 2024 ดีขึ้น แต่พฤติกรรมบริโภคเปลี่ยนไปในปีนี้
ผลสำรวจจากสถาบันการเงินอย่าง UBS ที่ได้สำรวจผู้บริโภคชาวไทยนั้นมองว่าในปี 2024 นั้นมีมุมมองต่อเศรษฐกิจไทยที่ดีกว่าเดิม อย่างไรก็ดีพฤติกรรมและมุมมองของผู้บริโภคไทยได้เปลี่ยนไปหลายเรื่องเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือแม้แต่การจับจ่ายใช้สอย
“ผักผลไม้” อาหารสุขภาพอันดับ 1 ในใจชาวไทย แต่คนกว่าครึ่ง “เงินไม่พอ” ซื้อทานประจำ
บริษัทวิจัย “มินเทล” สำรวจการเลือกทานอาหารเพื่อสุขภาพของชาวไทย พบว่าอาหารสุขภาพอันดับ 1 ที่ชาวไทยสนใจคือ “ผักผลไม้” แต่ด้วยภาวะทางการเงินทำให้คนกว่าครึ่งไม่มีเงินพอซื้อผักผลไม้ทานเป็นประจำ โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ที่อยู่ในฐานะการเงินระดับต่ำ
เปิดพฤติกรรม ‘นักช้อป 6 สาย’ ใครเป็นสายไหนเช็คด่วน!
ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา การระบาดของ COVID-19 ได้ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของคนไทย โดยสถาบันวิจัยความเป็นอยู่ฮาคูโฮโด อาเซียน (ประเทศไทย) หรือ Hakuhodo Institute of Life and Living ASEAN (THAILAND) ก็ได้มีการทำแบบสอบถามเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจากประชากรเพศชายและหญิงจำนวน 1,200 คน อายุระหว่าง 20-59 ปีจาก 6 ภูมิภาค ทั่วประเทศทุก ๆ สองเดือน จนสามารถแบ่งพฤติกรรมของผู้บริโภคได้เป็น 6 สาย ได้แก่
มูฟออนจากโควิด! “ฮาคูโฮโด” วิจัยพบคนไทยอยากฉลอง มู้ดการจับจ่ายพุ่งสูงสุดในรอบ 2 ปี
ข่าวดีรับสิ้นปีสำหรับผู้ประกอบการ “ฮาคูโฮโด” วิจัยพบคนไทยมูฟออนจากความกังวลเรื่องโควิด-19 ได้แล้ว บรรยากาศสิ้นปีส่งเสริมให้เกิดการเฉลิมฉลอง ความต้องการจับจ่ายซื้อสินค้าพุ่งสูงสุดในรอบ 2 ปี ‘Gen X’ นำโด่งซื้อของมากที่สุด
“เงินเฟ้อ” ปัจจัยลบแรงแทนที่ “โควิด-19” คนไทยรัดเข็มขัด “ท่องเที่ยว-บันเทิง” กระทบก่อน
IPSOS จัดการสำรวจผู้บริโภค 6 ประเทศใน SEA รวมไทย ช่วงหลังโควิด-19 ระลอกที่ 6 พบว่า ปัจจัย “เงินเฟ้อ” กลายเป็นความกังวลสูงสุดแทนที่สถานการณ์โรคระบาด // ผลกระทบทางการเงินทำให้สินค้า-บริการบางกลุ่มถูกตัดหรือชะลอการใช้จ่าย ที่หนักที่สุด คือ การท่องเที่ยว กิจกรรมบันเทิง เครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ และเสื้อผ้า // เพราะต้องระมัดระวังการใช้จ่าย ทำให้ผู้บริโภคหันมาเลือกตัดสินใจซื้อตาม “ผู้เชี่ยวชาญ” ในสินค้าหมวดนั้นๆ มากกว่าอินฟลูเอนเซอร์ทั่วไป
เจาะอินไซต์ ‘ผู้บริโภคยุคดิจิทัล’ ชี้ ‘คูปองส่วนลด’ ตกลูกค้าง่ายกว่า ‘ส่งฟรี’
นีลเส็น ประเทศไทย ได้จัดงานสัมมนาออนไลน์ Nielsen media talk ในหัวข้อ Digital Consumer: Insights, Trends and Challenges ซึ่งเปิดเผยข้อมูล 3 เทรนด์หลักของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในประเทศไทยหลัง COVID-19 โดย รัญชิตา ศรีวรวิไล ผู้อำนวยการธุรกิจมีเดีย บริษัท นีลเส็น ประเทศไทย
เด็กเกิดน้อย ครัวเรือนเล็กลง กระทบสินค้า FMCG งัดกลยุทธ์ “ขนาดแพ็กเกจ-ราคา” ให้เหมาะสม
เปิดรายงานวิเคราะห์ตลาดสินค้า FMCG ในไทยปี 2564 โดย Kantar พบปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบคือ “ขนาดครัวเรือนเล็กลง” เด็กเกิดน้อย ผู้สูงอายุมีมากกว่า // ทำให้การเลือกกลยุทธ์ขนาดแพ็กเกจและราคาต้องคิดละเอียด เหมาะสมกับลักษณะครอบครัวเป้าหมาย // เชื่อว่าปี 2565 ตลาดจะยังได้ 2.1% มีแรงขับสำคัญจากกลุ่มผู้อาศัยในพื้นที่ชนบท เนื่องจากอานิสงส์โครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
ผู้บริโภคสหรัฐฯ วางเเผนประหยัด-ลดเที่ยว-ทานข้าวนอกบ้านน้อยลง หลังราคาน้ำมันพุ่ง
ผู้บริโภคในสหรัฐฯ วางเเผนจะลดค่าใช้จ่ายในการรับประทานอาหารนอกบ้านเเละการชมภาพยนตร์ลง หากราคาน้ำมันยังพุ่งสูงอย่างต่อเนื่อง หลังรัสเซียบุกโจมตียูเครนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก
จากผลสำรวจของสำนักข่าว Reuters เเละ Ipsos บริษัทด้านการวิจัยตลาด ที่ได้รวบรวมความคิดเห็นของชาวอเมริกันวัยผู้ใหญ่ 1,005 คน พบว่า 54% เตรียมจะลดค่าใช้จ่ายในการรับประทานอาหารนอกบ้านลง หากราคาน้ำมันพุ่งขึ้นถึงระดับ 6-7 ดอลลาร์ต่อแกลลอน ขณะที่ 49% เตรียมจะลดการใช้จ่ายในการรับชมภาพยนตร์และความบันเทิงอื่น ๆ ลง และกว่า 60% กล่าวว่าพวกเขาจะไม่ขับรถทางไกล...