Tag: Buzzebees
การเปลี่ยนแปลงด้วย AI: ข้อคิดจากการมาเยือนประเทศไทยของ Prof. Andrew Ng
เมื่อ Prof. Andrew Ng มาเยือนประเทศไทย การบรรยายของเขานับเป็นอีกหนึ่งเหตุการณ์สำคัญของประเทศไทย ระดับปรมาจารย์ด้าน AI ระดับโลกมาทั้งที พิ้งค์ขอมาสรุปเนื้อหาสำคัญให้ฟังแบบเข้าใจง่าย พร้อมทั้งเชื่อมโยงตัวอย่างจริงจากทั้งประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น แบ่งเป็น 5 ด้านดังนี้
เคล็ดลับปรับแพลตฟอร์มให้เหมาะกับผู้ใช้แต่ละประเภท
การปรับ User Experience (UX) และ User Interface (UI) ให้เหมาะสมกับบุคคล ไม่ใช่เพียงคำฮิตในโลกดิจิทัลเท่านั้น แต่เป็นแรงผลักดันสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการมีส่วนร่วมของผู้ใช้ จากสถิติพบว่ามีผู้คนถึง 80% ที่มีแนวโน้มจะทำธุรกิจกับบริษัทที่ให้การปรับแต่งเฉพาะบุคคล (Personalization)* (*ที่มา การศึกษา Accenture Interactive, 2020*)
วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน ยกระดับการตลาดให้ล้ำไปกับ Generative AI
การเป็นนักการตลาดที่ประสบความสำเร็จไม่ได้ต้องการแค่ความคิดสร้างสรรค์เท่านั้น แต่ยังต้องเป็นนักวิเคราะห์ข้อมูลที่มีความเชี่ยวชาญด้วย ซึ่งอาจเป็นงานที่ท้าทาย แต่ไม่ต้องกังวล เพราะพิ้งค์มีเทคโนโลยีล้ำสมัยมาช่วยให้ทุกอย่างง่ายขึ้น
อัปเดตตัวอย่างงานที่ชาว Marketing ไม่ใช้ Generative AI ไม่ได้แล้ว
ที่จริงแล้ว Generative AI มีความสามารถในการช่วยในงานทางการตลาดอย่างมาก แต่เราจะสามารถทำให้เกิดความสำเร็จในงานการตลาดได้โดยการเพิ่มคุณสมบัติและการใช้งานที่เหมาะสมกับงานบางอย่าง นี่คือตัวอย่างที่ชาว Marketing สามารถใช้ Generative AI ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริษัทสตาร์ทอัพ: การบริหารแบบยั่งยืน สู่ภาพลักษณ์ ‘ธุรกิจที่มีความยั่งยืน’
ในฐานะของคนที่ทำบริษัทสตาร์ทอัพแล้ว การที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับคนรุ่นใหม่จำนวนมาก ไม่ว่าในแง่ของการเป็นลูกค้า หรือในแง่ของพนักงานบริษัท ตอนนี้คนรุ่นใหม่โดยเฉพาะ Gen Z ลงไป มีการให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างยิ่ง ทำให้บริษัทสตาร์ทอัพที่ต้องการให้คนรุ่นใหม่ทำงานด้วย หรือให้ผู้บริโภคที่จะเป็นกำลังซื้อสำคัญในรุ่นต่อไป จำเป็นต้องปรับตัวและสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ในการเป็นบริษัทที่มี Sustainability goal หรือภาษาไทยเรียกว่า 'ธุรกิจที่มีความยั่งยืน'
Brand Loyalty ยุคใหม่สร้างกันอย่างไร? สรุปกลยุทธ์มัดใจลูกค้าในยุคที่คนพร้อมเปลี่ยนใจเสมอ
ช่วงหลัง ๆ มีคนถามมาเยอะว่าการสร้าง Brand Loyalty ในยุคปัจจุบันดูมีรูปแบบที่เปลี่ยนไปจากการสร้าง Brand Loyalty ในอดีตมาก ๆ ดังนั้นในบทความนี้พิ้งค์จะมาสรุปเทรนด์ Brand Loyalty และความแตกต่างอะไรบ้างที่กำลังเกิดขึ้นเพื่อให้นักการตลาดปรับกลยุทธ์ให้ทัน!
UX/UI ต้องออกแบบยังไงให้ตรงใจคน?
UX (User Experience) ความหมายของ User Experience ที่เกี่ยวกับแบรนด์นั้น มีความหมายที่กว้างมากคือประสบการณ์ทั้งหมดที่ผู้ใช้งานได้รับ ระหว่างการมีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์ แต่ถ้าพูดเจาะไปในเรื่องของดิจิทัลแพลตฟอร์มอย่างเดียวก็คือประสบการณ์ทั้งหมดที่ผู้ใช้งานได้รับจากการใช้แพลตฟอร์มนั้นๆ เริ่มตั้งแต่การเข้าถึงแพลตฟอร์ม เช่นจะเปิดแพลตฟอร์มนั้นผ่านแอปพลิเคชัน ผ่านไลน์ หรือผ่านเว็บไซต์ โดยที่เริ่มต้นค้นหาอย่างไร บางคนเริ่มค้นหาจากการค้นหาในกูเกิล หรือค้นหาผ่านไลน์ เข้าไปในแพลตฟอร์มแล้ว ผู้ใช้งานจะเห็นหน้าไหน เช่น หน้าลงทะเบียน
คนสร้างแพลตฟอร์มที่ดี เขามีวิธีคิดกันแบบไหน?
คำว่า “แพลตฟอร์ม (Platform)” จริง ๆ แล้วมันสามารถแปลความหมายได้หลายอย่าง แต่ในบทความนี้ขอคุยเฉพาะเจาะจงลงไปในความหมายของ “ดิจิทัลแพลตฟอร์ม (Digital Platform)” ซึ่งก็คือระบบงานด้านไอทีที่พัฒนาผ่านสื่อต่าง ๆ อาทิ เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน LINE และอื่น ๆ ในรูปแบบที่สามารถทำให้เกิดกิจกรรมด้านดิจิทัลทั้งในโซเชียลมีเดีย อีคอมเมิร์ซ หรือแชท โดยที่แพลตฟอร์มนี้จะถูกทำผ่านส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่ถูกออกแบบและพัฒนาอย่างเฉพาะเจาะจงเพื่อให้เกิดสิ่งนี้ขึ้น
ฮาวทูไม่ทิ้ง! ข้อมูลลูกค้าหลังทำ Marketing Online ควรเอาไปทำอะไรเพื่อไม่ให้สูญเปล่า?
เมื่อตอน Ep.2 พิ้งค์ได้พูดถึงกลยุทธ์การทำแพลตฟอร์มอย่างไรให้ตอบโจทย์เป้าหมายของแบรนด์ และช่วยให้แบรนด์สามารถหาทางวัดผลได้แบบไม่นั่งเทียนกันไปแล้ว ดังนั้นในตอนที่ 3 เราจะมาคุยกันต่อว่าข้อมูลที่เราได้หลังจากวัดผลหรือข้อมูลที่ได้หลังจบแคมเปญ เราควรเอาไปทำอะไรต่อ ?
How to ทำการตลาดออนไลน์ แบบไม่นั่งเทียน
จากตอนที่แล้วที่พิ้งค์พูดถึง Lifecycle ของผู้บริโภคช่วงต่าง ๆ ในโลกออนไลน์ที่แบ่งเป็น 5 ช่วงใหญ่ ๆ