Tag: การทำงาน
ผู้เชี่ยวชาญชี้! EQ เป็นทักษะที่สำคัญอันดับ 1 ในการทำงานยุค AI
จากข้อมูลล่าสุดแสดงให้เห็นว่า มากกว่า 1 ใน 3 ของคนวัยทำงานในสหรัฐอเมริกา มีการทำ “Side Hustle” หรือ การทำงานหารายได้เสริมเพิ่มเติมจากงานประจำ ซึ่งสิ่งหนึ่งที่คนที่สามารถทํารายได้ได้มากที่สุดมีเหมือนกัน คือ “ความฉลาดทางอารมณ์”
อ้างอิงจาก Kyle M.K. ผู้เขียนหนังสือ "The Economics of Emotion" ในปี 2019 อีกทั้งเคยทำงานในฝ่ายบริหารของบริษัทที่ปรึกษาประสบการณ์ลูกค้า...
“แกร็บ” ปรับนโยบายการทำงานใหม่ ให้พนักงานเข้าออฟฟิศ 5 วันต่อสัปดาห์ มีผล 2 ธ.ค.
แกร็บ (Grab) ได้ส่งจดหมายแจ้งแก่พนักงานในบริษัท เกี่ยวกับการปรับนโยบายการเข้าทำงานในออฟฟิศ 5 วันต่อสัปดาห์ โดยจะมีผลตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2024 เป็นต้นไป
Anthony Tan ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ Grab กล่าวว่า การปรับนโยบายให้พนักงานกลับเข้ามาทำงานในออฟฟิศ 5 วันต่อสัปดาห์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการทํางานร่วมกันและปฏิสัมพันธ์ระหว่างพนักงานมากขึ้น สอดคล้องกับเป้าหมายและเพื่อขับเคลื่อนการเติบโตเร็วขึ้น
อย่างไรก็ตาม Anthony Tan กล่าวว่า การปรับนโยบายดังกล่าว...
พนักงานกว่า 3 ใน 4 ในไทย กำลังมองหา “แผนสำรอง” ในอาชีพการงาน “วัฒนธรรมองค์กรไม่ดี” ปัจจัยกระตุ้นการหางานใหม่
ผลสำรวจล่าสุดโดยโรเบิร์ต วอลเทอร์ส บริษัทที่ปรึกษาด้านการจัดหางานระดับโลกชี้ว่า กว่า 70% ของพนักงานในประเทศไทยกำลังวางแผนเปลี่ยนงาน พบอีกว่า 62% ของพนักงานเหล่านี้เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการเตรียมตัวเพื่อยกระดับความสามารถของตัวเองจะช่วยให้ได้งานใหม่เร็วขึ้น แนวโน้มดังกล่าวกำลังเป็นที่นิยมในหมู่พนักงานในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย ซึ่งถือเป็นหนึ่งในการแสวงหาความก้าวหน้าในอาชีพ
“ทำงานเพื่อใช้ชีวิต หรือ มีชีวิตเพื่อทำงาน” วิจัยพบ “สภาพเศรษฐกิจ” คือปัจจัยหลักในการเลือกเส้นทาง
ทัศนคติในการเลือกงานของแต่ละคนแตกต่างกัน บางคนเลือก “ทำงานเพื่อใช้ชีวิต” เน้นเรื่องรายได้จากงาน แต่บางคนกลับ “มีชีวิตเพื่อทำงาน” โดยไม่ได้สนใจเรื่องเงินมากนัก งานวิจัยจาก Columbia Business School พบว่าปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อการเลือกเส้นทางเดินเหล่านี้มาจาก “สภาพเศรษฐกิจ” ระดับมหภาคในช่วงที่บุคคลนั้นกำลังก้าวเข้าสู่ชีวิตวัยทำงาน
เทคโนโลยีทำให้มี “อาชีพ” ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมายในรอบ 80 ปี …แต่ก็ไม่มากเท่าอาชีพที่หายไป
วิจัยจากสหรัฐฯ พบว่า 6 ใน 10 ของ “อาชีพ” ที่มีอยู่ทุกวันนี้ หากย้อนไปเมื่อปี 1940 จะยังไม่ปรากฏอาชีพเหล่านี้อยู่เลย เป็นเพราะ “เทคโนโลยี” ทำให้เกิดอาชีพใหม่มากมายในตลาดงาน แต่ขณะเดียวกันอาชีพที่เคยมีก็กลับหายไปจากเหตุผลเดียวกัน โดยเฉพาะในช่วงปี 1980 เป็นต้นมา จำนวนอาชีพเกิดใหม่เพิ่มขึ้นไม่มากเท่าอาชีพที่หายไปด้วยระบบออโตเมชัน
Gen Z คิดอย่างไรกับการใช้ “GenAI” ช่วยทำงาน?
“ดีลอยท์” สำรวจความเห็นกลุ่มพนักงาน Gen Z (*ปัจจุบันวัย 19-29 ปี) ใน 44 ประเทศ ต่อการมาถึงของ “GenAI” ว่าจะส่งผลกระทบต่อการทำงานและธุรกิจอย่างไร?
“Work-Life Balance” สำคัญต่อใจพนักงาน “Gen Y – Gen Z” มากที่สุดในการเลือกงาน ข้อมูลวิจัยจาก “ดีลอยท์”
“ดีลอยท์” สำรวจตลาดแรงงานกลุ่ม “Gen Y – Gen Z” ในไทย พบว่าความกังวลสูงสุดของพนักงานยุคนี้คือเรื่อง “ค่าครองชีพ” ส่วนปัจจัยสำคัญสูงสุดของทั้งสองเจนในการเลือกงานคือเรื่อง “Work-Life Balance” ส่วนปัจจัยที่ผลักดันให้ลาออกสูงสุดคือเกิดภาวะ “Burn Out”
5 สิ่งที่ “ไม่ควรทำ” หากต้องการประสบความสำเร็จในอาชีพ คำแนะนำจากผู้บริหารของ Google
Daniel Rizea ผู้อำนวยการด้านวิศวกรรมที่ Google มีคำแนะนำ 5 ข้อที่ “ไม่ควรทำ” หากอยากประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน ดังนี้
สังคมอุดมดราม่า! “เพื่อนร่วมงาน” 5 ประเภทที่เป็นไปได้ “ควรหลีกให้ห่าง”
ที่ทำงานส่วนใหญ่มักจะมีคนที่คอยสร้างสังคม ‘toxic’ เต็มไปด้วยปัญหาดราม่า โดยจำแนกบุคคลได้ 5 ประเภทที่เป็น “เพื่อนร่วมงาน” แบบที่ควรหลีกห่างให้เร็วที่สุด
ทางรอดของคนเจนเก่า! “ทักษะทางสังคม” (soft skills) คือสิ่งที่ AI ทดแทนไม่ได้
“AI จะมาทดแทนตำแหน่งงานของเราหรือไม่” กลายเป็นความกังวลที่เกิดขึ้นควบคู่กับการพัฒนาเทคโนโลยี หรือถ้ามองให้ลึกลงไปกว่านั้น คำถามที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังก็คือ “Gen Z ที่รู้วิธีใช้งาน AI จะมีโอกาสได้งานมากกว่าคนเจนเนอเรชันก่อนหน้าหรือไม่” นักเศรษฐศาตร์จาก Oxford มีคำตอบที่อาจทำให้คนเจนเก่าใจชื้น เพราะ “ทักษะทางสังคม” (soft skills) ของคนเป็นสิ่งที่ AI ยังแทนไม่ได้